การประชุมชี้แจงสิทธิรักษาพยาบาลของพนักงานส่วนท้องถิ่น

0 0
Read Time:1 Minute, 10 Second

การประชุมชี้แจงแนวทางการดําเนินงานและการบริหารจัดการสิทธิสวัสดิการค่ารักษาพยาบาลของพนักงานส่วนท้องถิ่น ในวันจันทร์ ที่ ๒๐ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๕ เวลา ๐๘.๓๐ – ๑๖.๓๐ น.

ผ่าน facebook live https://fb.watch/dLC8p_-XLK/

  • ประธานแจ้งวัตถุประสงค์ในการประชุม โดย นายแพทย์ดุสิต ขำชัยภูมิ ผู้อำนวยการสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต ๗ ขอนแก่น
  • สิทธิประโยชน์ ระเบียบ หลักเกณฑ์ สิทธิสวัสดิการเกี่ยวกับการรักษาพยาบาลพนักงานส่วนท้องถิ่น โดย วิทยากรจาก กรมการปกครองส่วนท้องถิ่น
  • ซักซ้อมความเข้าใจเกี่ยวกับการถ่ายโอนภารกิจโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลให้แก่องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดย วิทยากรจาก กรมการปกครองส่วนท้องถิ่น
  • บรรยายแนวทางการเข้ารับการรักษาพยาบาลในสถานพยาบาลของรัฐและเอกชนของพนักงานส่วนท้องถิ่น โดย วิทยากรจาก สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
  • บรรยายแนวทางการเบิกจ่ายค่ารักษาพยาบาลกรณีสำรองจ่าย (ใบเสร็จรับเงิน) โดย วิทยากรจาก สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
  • บรรยายการใช้โปรแกรมระบบทะเบียนบุคลากรองค์กรส่วนท้องถิ่น โดย วิทยากรจาก สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
  • ถาม-ตอบ ปัญหาที่พบจากการดำเนินงาน

เอกสารประกอบการประชุม

Happy
0 0 %
Sad
0 0 %
Excited
0 0 %
Sleepy
0 0 %
Angry
0 0 %
Surprise
0 0 %

ปรับอัตราการจ่ายโควิด-19 วันที่15พ.ค.65

0 0
Read Time:1 Minute, 20 Second

ประชุมชี้แจงการปรับอัตราการจ่ายค่าใช้จ่ายการให้บริการสาธารณสุขสำหรับผู้ป่วยโรคโควิด 19
ให้เป็นตามแผนและมาตรการการบริหารจัดการสถานการณ์โรคโควิด 19 สู่โรคประจำถิ่น

ในวันที่ ๑๑ พฤษภาคม ๒๕๖๕ เวลา ๑๓.๓๐ – ๑๕.๓๐ น.

วาระการประชุม

  • ๑๓.๓๐-๑๓-๔๕ น. กล่าวเปิดประชุม โดย นายแพทย์จเด็จ ธรรมธัชอารี เลขาธิการ สปสช.
  • ๑๓.๔๕ – ๑๔.๐๐ น. แนวทางการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคติดเชื้อตามแผนและมาตรการการบริหาร จัดการสถานการณ์โรคโควิด 19 สู่โรคประจำถิ่น โดย ผู้อำนวยการกองระบาดวิทยา กรมควบคุมโรค กระทรวงสาธารณสุข
  • ๑๔.๐๐ – ๑๔.๑๕ น. แนวทางเวชปฏิบัติ การวินิจฉัย ดูแลรักษา และป้องกันการติดเชื้อในโรงพยาบาล กรณี โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ฉบับปรับปรุง ๒๒ เมษายน ๒๕๖๕ และ การบริหารจัดการสถานการณ์โรคโควิด 19 สู่โรคประจำถิ่น ด้านการแพทย์ โดย แพทย์หญิงนฤมล สวรรค์ปัญญาเลิศ ผู้ทรงคุณวุฒิ กรมการแพทย์
  • ๑๔.๑๕ – ๑๕.๐๐ น. หลักเกณฑ์ เงื่อนไขการจ่ายชดเชยค่าบริการสาธารณสุขสำหรับผู้ป่วยโรคโควิด 19 สู่การเป็นโรคประจำถิ่น (Endemic) โดย แพทย์หญิงกฤติยา ศรีประเสริฐ ที่เชี่ยวชาญพิเศษ สปสช.
  • ๑๕.๐๐ – ๑๕.๑๕ น. แนวทางการส่งเบิกข้อมูลการบริการโควิดที่มีเปลี่ยนแปลงผ่านโปรแกรม e-Claim โดย ผู้แทน ฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศการเบิกจ่ายกองทุน
  • ๑๕.๑๕ – ๑๕.๓๐ น. อภิปราย ซักถาม ปิดการประชุม
Happy
3 60 %
Sad
0 0 %
Excited
1 20 %
Sleepy
1 20 %
Angry
0 0 %
Surprise
0 0 %

การบันทึกเบิกค่าจัดการศพโควิด

0 0
Read Time:56 Second

การเบิกค่าใช้จ่ายเพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อสำหรับบุคลากรที่จัดการศพผู้เสียชีวิตด้วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19

อ้างอิงคู่มือแนวทางปฏิบัติในการขอรับค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2565 หน้า 332

สำหรับการให้บริการแก่ประชาชนไทยทุกคน

  • นิยาม
    • “ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับการป้องกันการแพร่กระจายเชื้อโรคโควิด 19 สำหรับบุคลากรที่จัดการศพผู้เสียชีวิต”หมายถึง ค่าใช้จ่ายเพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อโรคโควิด 19 ไปยังบุคลากรทางการแพทย์บุคคลอื่น และสิ่งแวดล้อมภายนอก โดยถือว่าเป็นบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคซึ่งเกี่ยวข้องกับโรคโควิด 19
  • หลักเกณฑ์เงื่อนไขการจ่าย
    • เป็นค่าใช้จ่ายให้แก่หน่วยบริการในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ สำหรับบุคลากรที่จัดการศพผู้เสียชีวิต เพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อโรคโควิด 19 ไปยังบุคลากรทางการแพทย์ บุคคลอื่น และสิ่งแวดล้อมภายนอก โดยเป็นไปตามแนวทางที่กระทรวงสาธารณสุขกำหนด
  • อัตราจ่ายค่าใช้จ่าย
    • จ่ายในอัตราเหมาจ่าย 2,500 บาทต่อผู้เสียชีวิต
Happy
0 0 %
Sad
0 0 %
Excited
0 0 %
Sleepy
0 0 %
Angry
0 0 %
Surprise
0 0 %

Pre Audit แนวทางตรวจสอบก่อนชดเชยกรณีโควิด19

0 0
Read Time:1 Minute, 23 Second

เอกสารการประชุมชี้แจงแนวทางการตรวจสอบเวชระเบียน
ก่อนจ่ายชดเชย (Pre Audit) HI/CI/OP SI สำหรับหน่วยบริการ

วันที่ 25 เม.ย. 2565
  • 09.45– 10.00 น. ทบทวนเกณฑ์การจ่าย Home Isolation / Community Isolation / OP Self Isolation คุณพิสิทธิ มั่งมี สปสช.เขต 8 อุดรธานี
  • 10.0 10.00 – 10.30 น. แนวทางการตรวจสอบก่อนจ่าย (Pre Audit) เพื่อบริการสาธารณสุข กรณี Home Isolation / Community Isolation / OP Self Isolation คุณภิญญดา เอกพจน์ ฝ่ายตรวจสอบการชดเชย สปสช.
  • 10.30 – 11.00 น. แนวทางการจัดเตรียมเวชระเบียนเพื่อแก้ไขข้อมูลที่ติดเงื่อนไข Verify ในระบบทักท้วง กรณี Home Isolation / Community Isolation / OP Self Isolation คุณขวัญใจ คงสกุลฝ่ายตรวจสอบการชดเชย สปสช.
  • 11.00 – 11.30 น. แนวทางการจัดเตรียมเวชระเบียนเพื่อแก้ไขข้อมูลติดเงื่อนไข Verify และหลักฐานที่ต้องจัดเตรียมเพื่อยืนยันการให้บริการผู้ติดเชื้อโควิด 19 คุณสุมณฑา โสภาพันธ์ ฝ่ายตรวจสอบการชดเชย สปสช.
Happy
0 0 %
Sad
0 0 %
Excited
0 0 %
Sleepy
0 0 %
Angry
0 0 %
Surprise
0 0 %

ประชุมจัดเก็บรายได้ ปี65

0 0
Read Time:3 Minute, 8 Second

สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดขอนแก่น โดยกลุ่มงานประกันสุขภาพ ได้กำหนดจัดประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาระบบจัดเก็บรายได้ ปีงบประมาณ 2565 ในวันที่ 20-22 เมษายน 2565 เวลา 08.30-16.30 น. โดยมีกลุ่มเป้าหมายคือเจ้าหน้าจากโรงพยาบาลทุกขนาด/สสอ./รพ.สต. ในเขตสุขภาพที่ 7 ผ่านระบบ Video Conference ระบบ Cisco WebEX เพื่อพัฒนาระบบจัดเก็บรายได้ของหน่วยบริการ ในการนี้จึงขอเชิญเจ้าหน้าที่กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมประชุม โดยสามารถลงทะเบียนเข้าร่วมประชุมได้ที่ลิงค์ https://moph.cc/cmzKumPY5

    วิทยากรบรรยาย โดย…

  • น.ส. อุมาพร แสงชา       ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
  • นายศุภวัตร นิลรักษา      ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
  • นายคณวัชร คำชัย         ตำแหน่ง นักวิชาการคอมพิวเตอร์ปฏิบัติการ

วาระประชุม

วัน-เวลาวาระ
20เม.ย.65-เช้า-ระบบจัดเก็บรายได้โดยการใช้ข้อมูลสารสนเทศ เพื่อการเบิกชดเชยค่าบริการทางการแพทย์สำหรับหน่วยบริการ
-สิทธิการรักษา การให้สิทธิ การ MAP สิทธิการรักษาตามผังบัญชี
-การตรวจสอบสิทธิการรักษาแบบ REAL TIME จาก DATA AUDIT
-การติดตั้งโปรแกรม DataAudit และการใช้งานเบื้องต้น
20เม.ย.65-บ่าย-การใช้โปรแกรมเพื่อตรวจสอบข้อมูลเบื้องต้น
-การตั้งค่าหมวดค่าใช้จ่ายให้ถูกต้อง (20 หมวดล่าสุด) และ Map รหัส ADP CODEให้ตรงตามหมวดต่างๆ
-ปรับฐานข้อมูลเพื่อการส่งออก
-การตั้งค่าต่างๆ ตามมาตรฐาน สกส. (CSOP,COPD,CIPN,SSOP,SIP09M)
21เม.ย.65-เช้า-การตั้งค่าข้อมูลที่สำคัญ เพื่อให้รองรับการส่งข้อมูลเบิกชดเชย กองทุนต่างๆ
-การตั้งค่าสิทธิ์การรักษาให้ครบ ถูกต้องและง่ายต่อระบบเคลมต่างๆ
-Drug Catalog / Lab Catalog
-การกำหนดค่า X-ray ให้ถูกต้อง
-การกำหนดค่าใช้จ่ายหลายราคา ตามสิทธิ์ที่ต้องการ
-การตั้งค่าต่างๆ ตามมาตรฐาน สกส. (CSOP,COPD,CIPN,SSOP,SIP09M)
-การส่งออก/แก้ไข ระบบ SSOP ประกันสังคมผู้ป่วยนอก
-การส่งออก/แก้ไข ระบบ COPD กทม. พัทยา ผู้ป่วยนอก
-การส่งออก/แก้ไข ระบบ CSOP จ่ายตรง ผู้ป่วยนอก
-การส่งออก/แก้ไข ระบบ CIPN เบิกจ่ายตรง ผู้ป่วยใน
21เม.ย.65-บ่าย-การส่งออก/แก้ไข ระบบ SIP09M ประกันสังคม ผู้ป่วยใน/ Covid
-การส่งเบิกค่ารถ AMBTR กทม./ประกันสังคม Covid
-การขอ Authen Code / การทำ QR Code ให้รองรับระบบเคลมปี 2565
-ระบบส่งออกรองรับ Eclaim2008 / การส่งออกแบบ 16 แฟ้ม
-ระบบเคลม UCS
-ระบบเคลม อปท.
-ระบบเคลม เบิกจ่ายตรง
-ระบบเคลม UCAE
-ระบบเคลม OP-Refer (รับ Refer)
-ระบบเคลม UCS WALKIN ทั่วประเทศ
-ระบบเคลม ย้ายหน่วยบริการเกิดสิทธิ์ทันที
-ระบบเคลม COVID2019 , ATK และอื่นๆ
-ระบบเคลม พรบ.
-ระบบมีปัญหาสถานะสิทธิ์
-ระบบสิทธิ์ต่างด้าว
-ระบบเคลมฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม
-ระบบเบิกฟอกไตทางหน้าท้อง
22เม.ย.65-เช้า-ระบบเคลม ฝังเข็ม IMC
-ระบบเคลม Instrument
-ระบบเคลม คุมกำเนิดกึ่งถาวร <=20 ปี และ >=20 ปี
-ระบบเคลม ยุติการตั้งครรภ์ที่ไม่ปลอดภัย
-ระบบเคลม ODS/MIS
-ระบบเคลม มะเร็งทั่วไป
-ระบบเคลม ยา Clopidogrel ยา STROKE ยา STEMI
-ระบบเคลม Palliative Care
22เม.ย.65-บ่าย-ระบบเคลม ทันตกรรมในวัยเรียน
-ระบบเคลม ทันตรรม ANC / Ultra Sound / PAP ปี 2565
-ระบบนำเข้า REP และ STATEMENT จาก สปสช. และ สกส. เพื่อปรับปรุงบัญชีลูกหนี้
-การกระทบยอดลูกหนี้ด้วย REP และ STATEMENT จาก สปสช. และ สกส. และ
การ Keyin
วาระประชุมโปรแกรม DataAudit และการใช้งานเบื้องต้น

หนังสือเชิญ

ไฟล์ประกอบการประชุม

Happy
2 100 %
Sad
0 0 %
Excited
0 0 %
Sleepy
0 0 %
Angry
0 0 %
Surprise
0 0 %

สรุปการบันทึกเบิกค่ารักษาตามประกาศ สปส. (อัพเดตหลัง4ก.ค.65)

0 0
Read Time:3 Minute, 32 Second

สรุปการบันทึกข้อมูลเบิกค่ารักษาพยาบาลตามประกาศสำนักงานประกันสังคม ว2537 11 มีนาคม 2565
(หลักเกณฑ์การเบิก ในสถานการณ์ COVID-19) โดยสำนักสารสนเทศบริการสุขภาพ 31 มีนาคม 2565

ตามประกาศฯ ของสำนักงานประกันสังคม ว2537 ลงวันที่ 11 มี.ค. 65 ได้ประกาศหลักเกณฑ์และอัตราการเบิกค่ารักษาผู้ป่วยติดเชื้อ COVID-19 และแนวปฏิบัติการส่งข้อมูลเบิกของ สกส. เลขที่ CHI65-A05 – CHI65-A09 ได้แจ้งวิธีปฏิบัติในการเบิกค่ารักษาฯ ในกรณีต่างๆ สกส.จึงสรุปการเบิกค่ารักษาฯ ดังนี้

รายการ

  • ก. กรณีการตรวจคัดกรอง เบิกผ่านระบบ สปสช.
  • ข. กรณีผู้ป่วยนอกตามแนวทาง เจอ แจก จบ (Self – Isolation)
    1. สถานพยาบาลในโครงการ เบิกผ่านสกส. ระบบ SSOP ตามแนวปฏิบัติเลขที่ CHI65-A05
    2. สถานพยาบาลนอกโครงการ
      • สถานพยาบาลของรัฐ เบิกผ่านสกส. ระบบ SSOP ตามแนวปฏิบัติเลขที่ CHI65-A06
      • สถานพยาบาลของเอกชน (ต้องขออนุญาติ สปส. ก่อน) เบิกผ่านสกส. ระบบ SSOP ตามแนวปฏิบัติเลขที่ CHI65-A06
  • ค. กรณี Home Isolation และ Community Isolation
    • 1.สถานพยาบาลของรัฐและเอกชนในโครงการ เบิกผ่านสกส. โปรแกรม SIP09 ตามแนวปฏิบัติเลขที่ CHI65-A07
    • 2.สถานพยาบาลเอกชนนอกโครงการ (ต้องขออนุญาติ สปส. ก่อน) เบิกผ่านสกส. โปรแกรม SIP09 ตามแนวปฏิบัติเลขที่ CHI65-A07
  • ง. กรณีรักษาผู้ป่วยใน ใน Hospitel
    • สถานพยาบาลของรัฐและเอกชนในโครงการ เบิกผ่านสกส. โปรแกรม SIP09 ตามแนวปฏิบัติเลขที่ CHI65-A08
    • สถานพยาบาลเอกชนนอกโครงการ (ต้องขออนุญาติ สปส. ก่อน) เบิกผ่านสกส. โปรแกรม SIP09 ตามแนวปฏิบัติเลขที่ CHI65-A08 *หากเบิกผ่านโปรแกรม SIP09 ไม่ได้ ให้รอแนวปฏิบัติต่อไป
  • จ. กรณีรักษาผู้ป่วยใน ในสถานพยาบาลของรัฐและเอกชน
    • กรณีผู้ป่วยกลุ่มสีเขียว
      • สถานพยาบาลของรัฐและเอกชนในโครงการ เบิกผ่านสกส. โปรแกรม SIP09 ตามแนวปฏิบัติเลขที่ CHI65-A09
      • สถานพยาบาลเอกชนนอกโครงการ (ต้องขออนุญาติ สปส. ก่อน) เบิกผ่านสกส. โปรแกรม SIP09 ตามแนวปฏิบัติเลขที่ CHI65-A09
    • กรณีผู้ป่วยกลุ่มสีเหลือง/แดง
      • สถานพยาบาลของรัฐ เบิกผ่านสกส. โปรแกรม SIP09 ตามแนวปฏิบัติเลขที่ CHI65-A09
      • สถานพยาบาลเอกชน เบิกผ่านระบบ UCEP Plus
  • แนวทางการบันทึกข้อมูลเบิกค่ารักษาพยาบาลผู้ป่วย COVID-19 กรณี โรงพยาบาลสนาม Hotel Isolation และปรับปรุงกรณี Hospitel ตามประกาศสำนักงานประกันสังคม ว2537 ลงวันที่ 11 มี.ค. 65

แนวทางการบันทึกข้อมูลเบิกค่ารักษาพยาบาลผู้ป่วย COVID กรณี ดูแลรักษาผู้ป่วยใน Hospitel สำหรับสถานพยาบาลของรัฐและสถานพยาบาลเอกชนตามประกาศคณะกรรมการการแพทย์ฯ สำนักงานประกันสังคม ลงวันที่ 29 เม.ย. 65

แนวทางการบันทึกข้อมูลเบิกค่ารักษาพยาบาลผู้ป่วย COVID การปรับอัตราค่ารักษา ตามประกาศกรมบัญชีกลาง ว540 ลงวันที่ 8 มิ.ย. 2565

แนวทางการบันทึกข้อมูลเบิกค่ารักษาพยาบาลผู้ป่วย COVID การปรับอัตราค่ารักษา ตามประกาศกรมบัญชีกลาง ว 805 ลงวันที่ 12 ก.ค. 2565

แนวทางการบันทึกข้อมูลเบิกค่ารักษาพยาบาลผู้ป่วย COVID ตามประกาศสำนักงานประกันสังคม ว7007 ลงวันที่ 12 ก.ค. 65

รวมเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการผป.โควิด 19 และแนวทางการจ่ายชดเชย ของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.)

  1. รวมแนวทางการจ่าย โควิด 19  link
  2. รหัส C และแนวทางแก้ไข link
  3. รหัส V และแนวทางแก้ไข link
  4. การเตรียมเอกสารเพื่อขอทบทวน link
  5. การจัดบริการ Home Isolation กรมการแพทย์ link
  6. รหัสเบิก COVID19 link
  7. CPG COVID19 วันที่ 2 พฤศจิกายน 2564 link
  8. กรมการแพทย์ CPG COVID19 วันที่ 3 มีนาคม 2565 link
  9. ชี้แจงแนวทางการตรวจสอบ OP self isolation HI CI link
  10. การพิสูจน์ตัวตนในการขอ Authentication Code link
  11. อ.กฤติยา_ชี้แจงหน่วยบริการ การจ่ายชดเชยโควิด 19 _3มีค6 link
  12. Final_แบบบันทึกเวชระเบียนOP_Self isolation_25650302 link
  13. คู่มือสำหรับหน่วยบริการแนบไฟล์ PPFS_VA_CO link
  14. การบันทึกข้อมูลกรณีโรคโควิด 19 ในระบบ e-Claim link
  15. OP self ร้านยา link
  16. โปรแกรม e-Claim สำหรับ OP self ร้านยา link
  17. AMED SI link
  18. แนวทางตรวจสอบ OP Self link
  19. การขึ้นทะเบียนและการทำสัญญา link
Happy
2 100 %
Sad
0 0 %
Excited
0 0 %
Sleepy
0 0 %
Angry
0 0 %
Surprise
0 0 %

ประชุม Audit กรณี OP OPAE OPLG ปี65

0 0
Read Time:45 Second

ประชุมแนวทางในการตรวจสอบเอกสารหลักฐานการขอรับค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุขของหน่วยบริการ กรณี OP OPAE OPLG ปีงบประมาณ 2565 วันที่ 14 มกราคม 2565

  • แนวทางการจัดเตรียมเวชระเบียนเพื่อรับการตรวจสอบ
  • ประเด็นที่พบจากการส่งเวชระเบียนเพื่อตรวจสอบไม่ครบ
    โดย นางสาวรุ่งจิต ลีลางามวงศา ตำแหน่ง นักวิชาการฝ่ายตรวจสอบการจ่ายชดเชยฯ
  • แนวทางการตรวจสอบหลักฐานการเรียกเก็บค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุขกรณี OPD
  • ประเด็นหน่วยบริการการเบิกจ่ายไม่ถูกต้องที่พบจากการตรวจสอบ
  • ประเด็นปัญหาที่พบจากการอุทธรณ์ผลการตรวจสอบของหน่วยบริการ
    โดย นายแพทย์ปริญญา ชมวงษ์ ตำแหน่ง ผู้เชี่ยวชาญพิเศษ
    นางสาวรุ่งจิต สีลางามวงศา ตำแหน่ง นักวิชาการฝ่ายตรวจสอบการจ่ายชดเชยฯ

แนวทางการตรวจสอบเอกสารหลักฐานการเรียกเก็บค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุขร่วม ๓ กองทุน

กรณีผู้ป่วยนอก

ประเด็นสำคัญในการตรวจสอบเวชระเบียน ผป.นอก
1.หลักฐานประกอบการตรวจสอบเวชระเบียน
2.แนวทางการตรวจเอกสารหลักฐาน
3.แนวทางการขออุทธรณ์

Happy
0 0 %
Sad
0 0 %
Excited
1 50 %
Sleepy
0 0 %
Angry
0 0 %
Surprise
1 50 %

รายละเอียดคำอธิบายการผิดพลาดของข้อมูล (ติดV)

0 0
Read Time:20 Minute, 17 Second

รายละเอียดคำอธิบายการผิดพลาดของข้อมูล (ติดV) ในระบบ e-Claim ของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ และวิธีปฏิบัติ/แนวทางแก้ไข ให้ถูกต้อง อัพเดต ณ วันที่ 13 กรกฎาคม 2565 จากเว็บไซต์ https://eclaim.nhso.go.th

กดคีย์บอร์ด Ctrl และปุ่ม F เพื่อค้นหาข้อมูล

   ลำดับVA_NODESC_NAMEแนวทางการแก้ไข
1V000ไม่มีข้อมูล Authen/ Authen ไม่ถูกต้อง ไม่ผ่านการตรวจสอบ1. หลักฐานการยืนยันตัวตนการรับผู้ติดเชื้อ (Authen) เข้ารับบริการ
2. เอกสารบันทึกการติดตามประเมินอาการ ตามจำนวนวันที่ขอเบิก
3. หลักฐานการจัดอาหารตามจำนวนวันที่เบิก หรือ หลักฐานการรับอาหาร
4. หลักฐานแสดงการจัดส่งยา หรือ หลักฐานการรับยาฟ้าทะลายโจร
5. หลักฐานแสดงการจัดส่งยา หรือ หลักฐานการรับยา Favipiravir
6. หลักฐานการสั่งซื้อที่ระบุราคาอุปกรณ์
7. หลักฐานการบันทึก การดูแลด้วยการให้ออกซิเจน รวมทั้งวันเริ่มต้นและวันสิ้นสุดการให้ออกซิเจน
8. รายงานผลการตรวจ Chest X-ray ที่ระบุหน่วยบริการ วันที่ให้บริการ
9. รายงานผลการตรวจ RT PCR (official report) ที่ระบุหน่วยบริการ วันที่ให้บริการ ตามประเภทการตรวจคัดกรองที่ส่งเบิก
2V001เบอร์โทรรูปแบบไม่ถูกต้องทำให้ไม่สามารถติดต่อผู้ติดเชื้อได้
3V002มีเบอร์โทรแต่ไม่สามารถติดต่อผู้ติดเชื้อได้
4V003เลขบัตรประชาชนไม่ตรงกับข้อมูลที่ Authen
5V004ผู้รับบริการตามรายชื่อ/เลขที่บัตรประชาชนตามที่ Authen  แจ้งว่าไม่เป็นผู้ติดเชื้อโรค Covid 19
6V006ผู้ติดเชื้อแจ้งว่าได้รับบริการดูแลจากหน่วยบริการอื่นไม่ตรงหน่วยบริการที่ Authen
7V008ไม่ได้รับการประเมิน และ/หรือไม่ได้ รับอาหาร ตามจำนวนวันที่ขอเบิก ในการให้บริการ (Home Isolation/Community Isolation)1 เอกสารบันทึกการติดตามประเมินอาการ เวชระเบียน Nurse note /หลักฐานที่สื่อสารกับผู้ติดเชื้อตามจำนวนวันที่เบิก
2 หลักฐานการจัดอาหารจากหน่วยผลิตอาหารจัดส่งให้ผู้ติดเชื้อตามจำนวนวันที่เบิก หรือ
3 หลักฐานการรับอาหารของผู้ติดเชื้อ/ญาติ
8V009ไม่ได้รับการประเมิน และ/หรือไม่ได้ รับอาหาร ตามจำนวนวันที่ขอเบิก ในการให้บริการ (Home Isolation/Community Isolation)1 เอกสารบันทึกการติดตามประเมินอาการ เวชระเบียน Nurse note /หลักฐานที่สื่อสารกับผู้ติดเชื้อตามจำนวนวันที่เบิก
2 หลักฐานการจัดอาหารจากหน่วยผลิตอาหารจัดส่งให้ผู้ติดเชื้อตามจำนวนวันที่เบิก หรือ
3 หลักฐานการรับอาหารของผู้ติดเชื้อ/ญาติ
9V010ไม่ได้รับการประเมิน และ/หรือไม่ได้ รับอาหาร ตามจำนวนวันที่ขอเบิก ในการให้บริการ (Home Isolation/Community Isolation)1 เอกสารบันทึกการติดตามประเมินอาการ เวชระเบียน Nurse note /หลักฐานที่สื่อสารกับผู้ติดเชื้อตามจำนวนวันที่เบิก
2 หลักฐานการจัดอาหารจากหน่วยผลิตอาหารจัดส่งให้ผู้ติดเชื้อตามจำนวนวันที่เบิก หรือ
3 หลักฐานการรับอาหารของผู้ติดเชื้อ/ญาติ
10V011ไม่ได้รับการประเมิน และ/หรือไม่ได้ รับอาหาร ตามจำนวนวันที่ขอเบิก ในการให้บริการ (Home Isolation/Community Isolation)1 เอกสารบันทึกการติดตามประเมินอาการ เวชระเบียน Nurse note /หลักฐานที่สื่อสารกับผู้ติดเชื้อตามจำนวนวันที่เบิก
2 หลักฐานการจัดอาหารจากหน่วยผลิตอาหารจัดส่งให้ผู้ติดเชื้อตามจำนวนวันที่เบิก หรือ
3 หลักฐานการรับอาหารของผู้ติดเชื้อ/ญาติ
11V012ไม่ได้รับการประเมิน และ/หรือไม่ได้ รับอาหาร ตามจำนวนวันที่ขอเบิก ในการให้บริการ (Home Isolation/Community Isolation)1 เอกสารบันทึกการติดตามประเมินอาการ เวชระเบียน Nurse note /หลักฐานที่สื่อสารกับผู้ติดเชื้อตามจำนวนวันที่เบิก
2 หลักฐานการจัดอาหารจากหน่วยผลิตอาหารจัดส่งให้ผู้ติดเชื้อตามจำนวนวันที่เบิก หรือ
3 หลักฐานการรับอาหารของผู้ติดเชื้อ/ญาติ
12V013ไม่ได้รับอุปกรณ์วัดไข้และ เครื่องวัดออกซิเจน1หลักฐานแสดงการจัดส่งเวชภัณฑ์ ตามรายการที่ให้แก่ผู้ติดเชื้อ(ระบุชื่อผู้รับ และราคาจัดหา)  หรือ
2 หลักฐานการรับเวชภัณฑ์ของผู้ติดเชื้อ/ญาติตามรายการที่ให้แก่ผู้ติดเชื้อ (ระบุชื่อผู้รับ และราคาจัดหา)
หมายเหตุ กรณีจัดหาเป็นอุปกรณ์อื่นที่ไม่ใช่ เครื่องวัดไข้ และ  เครื่องวัด O2sat ต้องระบุเหตุผลการไม่ได้จัดหาให้
13V014ไม่ได้รับอุปกรณ์วัดไข้1หลักฐานแสดงการจัดส่งเวชภัณฑ์ ตามรายการที่ให้แก่ผู้ติดเชื้อ(ระบุชื่อผู้รับ และราคาจัดหา)  หรือ
2 หลักฐานการรับเวชภัณฑ์ของผู้ติดเชื้อ/ญาติตามรายการที่ให้แก่ผู้ติดเชื้อ (ระบุชื่อผู้รับ และราคาจัดหา)
หมายเหตุ กรณีจัดหาเป็นอุปกรณ์อื่นที่ไม่ใช่ เครื่องวัดไข้ และ  เครื่องวัด O2sat ต้องระบุเหตุผลการไม่ได้จัดหาให้
14V015ไม่ได้รับเครื่องวัดออกซิเจน1หลักฐานแสดงการจัดส่งเวชภัณฑ์ ตามรายการที่ให้แก่ผู้ติดเชื้อ(ระบุชื่อผู้รับ และราคาจัดหา)  หรือ
2 หลักฐานการรับเวชภัณฑ์ของผู้ติดเชื้อ/ญาติตามรายการที่ให้แก่ผู้ติดเชื้อ (ระบุชื่อผู้รับ และราคาจัดหา)
หมายเหตุ กรณีจัดหาเป็นอุปกรณ์อื่นที่ไม่ใช่ เครื่องวัดไข้ และ  เครื่องวัด O2sat ต้องระบุเหตุผลการไม่ได้จัดหาให้
15V016ไม่ได้จ่ายยาฟ้าทะลายโจร1 หลักฐานแสดงการจัดส่งยา (ระบุชื่อผู้รับ) หรือ
2 หลักฐานการรับยาของผู้ติดเชื้อ/ญาติ
16V017ไม่พบการให้บริการ Chest X-RayรายงานผลการตรวจChest X-Ray  ในช่วงที่ให้บริการ HI/CI  ที่ระบุวันที่ชัดเจน(กรณี OP เท่านั้น)
17V018ไม่พบการให้บริการ ตรวจคัดกรอง RT PCRรายงานผลการตรวจ RT PCR ที่ระบุหน่วยบริการส่งตรวจและหน่วยตรวจ (official report)
โดยต้องเป็นการตรวจในช่วงเวลาที่ให้บริการ HI/CI
18V019ไม่พบการให้บริการออกซิเจน ตามจำนวนวันที่ขอเบิก1 หลักฐานแสดงการจัดส่งอุปกรณ์ oxygen หรือ หลักฐานการรับอุปกรณ์oxygen ให้แก่ผู้ติดเชื้อ(ระบุชื่อผู้รับ) (กรณี HI) หรือ
2 หลักฐานการให้/การได้รับออกซิเจน ของผู้ติดเชื้อ (กรณี CI) ได้แก่ คำสั่งแพทย์ และบันทึกพยาบาล
3 โดยระบุจำนวนวันที่เริ่มให้ และจำนวนวันที่สิ้นสุดการให้บริการ
19V020ไม่ได้จ่ายอุปกรณ์ วัดไข้ & วัด O2sat1หลักฐานแสดงการจัดส่งเวชภัณฑ์ ตามรายการที่ให้แก่ผู้ติดเชื้อ(ระบุชื่อผู้รับ และราคาจัดหา)  หรือ
2 หลักฐานการรับเวชภัณฑ์ของผู้ติดเชื้อ/ญาติตามรายการที่ให้แก่ผู้ติดเชื้อ (ระบุชื่อผู้รับ และราคาจัดหา)
หมายเหตุ กรณีจัดหาเป็นอุปกรณ์อื่นที่ไม่ใช่ เครื่องวัดไข้ และ  เครื่องวัด O2sat ต้องระบุเหตุผลการไม่ได้จัดหาให้
20V022ไม่ได้จ่ายยาฟาวิพิลาเวียร1 หลักฐานแสดงการจัดส่งยา (ระบุชื่อผู้รับ) หรือ
2 หลักฐานการรับยาของผู้ติดเชื้อ/ญาติ
21V023  
22V024เบิกชดเชยการเก็บ specimen ทุกรูปแบบซ้ำซ้อนใน 24 ชั่วโมง ใน PID เดียวกัน 
23V025เบิกชดเชยการเก็บ specimen ทุกรูปแบบซ้ำซ้อน ใน PID ที่ได้รับการจ่ายชดเชยการเก็บ specimen ไปแล้วภายใน 3 วัน 
24V026เบิกชดเชยการเก็บ specimen ทุกรูปแบบซ้ำซ้อนตั้งแต่ 3 ครั้ง ขึ้นไปในช่วงเวลา 14 วัน 
25V027เบิกชดเชยการค่า lab ทุกรูปแบบซ้ำซ้อนใน 24 ชั่วโมง ใน PID เดียวกัน ที่มีผลเป็น Negative 
26V028เบิกชดเชยการทำ Lab ทุกรูปแบบซ้ำซ้อน ใน PID ที่ได้รับการจ่ายชดเชยค่า Lab ไปแล้วภายใน 3 วัน 
27V029เบิกชดเชยการทำ Lab ทุกรูปแบบซ้ำซ้อน ตั้งแต่ 3 ครั้งขึ้นไป ในช่วงเวลา 14 วัน 
28V030เบิกชดเชยค่า lab RT-PCR ซ้ำซ้อน ใน PID ที่ได้รับการจ่ายชดเชยค่า RT-PCR ไปแล้ว ในช่วงเวลา 3 วัน 
29V031เบิกชดเชยค่า lab RT-PCR ซ้ำซ้อน ตั้งแต่ 3 ครั้งขึ้นไป ในช่วงเวลา 14 วัน 
30V032การเบิกชดเชย lab การตรวจ antibody 
31V033เบิกชดเชยค่า lab RT-PCR ซ้ำซ้อน ใน PID ที่ได้รับการจ่ายชดเชยค่า RT-PCR ซ้ำซ้อนใน 24 ชั่วโมง ใน PID เดียวกัน 
32V034มีการเบิก Lab แบบ RT-PCR ที่เคยมีผล Positive ใน Visit ก่อนหน้านี้ ไม่เกิน 90 วัน 
33V035กรณี IP Covid-19 กลุ่ม Case สีเขียว แต่เบิกค่าห้องรหัส COVR09 (ค่าห้องสำหรับผู้ป่วยโควิดสีเหลือง) หรือ COVR10 (ค่าห้องสำหรับผู้ป่วยโควิดสีแดง) เฉพาะ case ที่ Date Admit ตั้งแต่วันที่ 1/8/2564 
34V036กรณี IP Covid-19 กลุ่ม Case สีเขียว ที่เบิกค่าห้องรหัส COVR01 (ค่าห้องควบคุมผู้ป่วย COVID ใน รพ) เฉพาะ case ที่ Date Admit ระหว่างวันที่ 2/3/2563 ถึง 31/7/2564 
35V037Case ที่ Dx. Covid-19 แบบ Asymptomatic โดยไม่พบรหัสอื่นๆร่วมด้วย (สีเขียว) ที่พบการเบิกร่วมกับการเบิก ค่าห้องรหัส COVR09  (ค่าห้องสำหรับผู้ป่วยโควิดสีเหลือง) หรือ COVR10 (ค่าห้องสำหรับผู้ป่วยโควิดสีแดง) เฉพาะ case ที่ Admit ตั้งแต่วันที่ 1/8/2564 
36V038กรณี IP Covid-19 กลุ่ม Case สีเขียว ที่เบิก PPE > 15 ชุด/วัน 
37V039” ไม่จ่าย อุปกรณ์ CI 500 บาท เพิ่มเงื่อนไข C5 =1 ไม่จ่ายอุปกรณ์ CI 500 บาท ให้ทาง Claim อัพเดท รหัสVXXX ให้ด้วย เนื่องจาก ไม่ทราบว่ามีการอัพเดทที่เท่าไหร่แล้ว ไม่ได้จ่ายอุปกรณ์ วัดไข้ & วัด O2satหลักฐานแสดงการจัดส่งเวชภัณฑ์ หรือ หลักฐานการรับเวชภัณฑ์  และ หลักฐานการประเมินผู้ป่วยได้แก่ การวัดอุณหภูมิ และความอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือด
38V040Case ที่ได้รับการวินิจฉัยว่าเป็น Covid-19 ที่พบการจำหน่ายและรับ Admit ต่อในวันเดียวกัน ภายใต้หน่วยบริการเดียวกัน 
39V041พบการเบิกรหัส COVV01(ค่าทำความสะอาดพาหนะในการส่งต่อและ ค่าชุด PPE) ที่ไม่สอดคล้องกับการเบิกรถ refer 
40V042กรณีสีเขียว ที่เบิก PPE > 300 บาท/วัน เฉพาะ case ที่ Admit ตั้งแต่วันที่ 1/08/2564 
41V043Case ที่ Dx. Covid-19 แบบ Asymptomatic โดยไม่พบรหัสอื่นๆร่วมด้วย (สีเขียว) ที่พบการเบิกร่วมกับการเบิก ค่าห้องรหัส COVR09 หรือ COVR10  หรือ เบิก PPE > 15 ชุด/วัน 
42V044วันเดือนปีที่ส่งเบิกชดเชย (Incom) ก่อนหรือหลังวันเดือนปีที่ผู้ติดเชื้อเข้ารับบริการจริง มากกว่า 3 วันขึ้นไป 
43V045ผู้ติดเชื้อไม่ได้รับการประเมินหลังจากเข้ารับบริการภายใน 48 ชม. 
44V046ไม่ได้รับยาและผู้ติดเชื้อไม่ได้รับการประเมินหลังจากเข้ารับบริการภายใน 48 ชม. 
45V047ผู้ติดเชื้อไม่ได้ติดต่อกลับหน่วยบริการหลัง 48 ชม. 
46V048ไม่ผ่านเงื่อนไขการตรวจสอบการเบิกชดเชยรายการอุปกรณ์และอวัยวะเทียม1. ขอมูลทั่วไปของผูรับบริการประกอบดวยเลขที่บัตรประจําตัวประชาชนชื่อสกุลวันเดือนปเกิด เปนอยางนอย
2. บันทึกเวชระเบยีนผูปวยนอก(OPDcard)visitที่มีการการสั่งจายอุปกรณอวัยวะเทียม
3. บันทึกเวชระเบยีนผูปวยในไดแกDischargesummary,ใบบันทึกการผาตัดและadmission
ที่มีการใชอุปกรณอวัยวะเทียม เปนตน
4. กรณีอวัยวะเทียมและอุปกรณภายในรางกายเชนเลนสแกวตาเทียมโลหะดามกระดูกเปนตน
ตองมีหลักฐานการใชอุปกรณและอวัยวะเทียมดังกลาว ไดแก บันทึกการสั่ง และหลักฐานการใช
อุปกรณและอวัยวะเทียมในเวชระเบียน และ sticker (ถาอุปกรณและอวัยวะเทียมนั้นมี sticker)
5. กรณีอวัยวะเทียมและอุปกรณภายนอกรางกายเชนฟนเทียมรถเข็นนั่งเครื่องชวยเดินหรือ
รองเทาสําหรับผูปวยเบาหวาน เปนตน ตองมีหลักฐานการสั่งจายและหลักฐานการลงนามรับ อวัยวะเทียมและอุปกรณของผูปวยหรือญาติ
47V101ติดเงื่อนไขการ verify data กรณีการให้บริการฝากครรภ์ครั้งที่ 1-81.เอกสารเวชระเบียนผู้ป่วยนอกหรือเอกสารอื่นที่หน่วยบริการใช้บันทึกการให้บริการผู้ป่วยนอกที่ระบุข้อมูลทั่วไปที่สามารถระบุได้ว่าเป็นเอกสาร หลักฐานของผู้รับบริการรายที่ขอตรวจสอบ ได้แก่ เลขที่บัตรประชาชน ชื่อ สกุล วันเดือนปีเกิด
2.ข้อมูล LMP EDC ของการตั้งครรภ์ในครรภ์ที่ขอตรวจสอบ
3.ข้อมูลบันทึกการให้บริการฝากครรภ์ ณ วันให้บริการที่ขอตรวจสอบ ตามสิทธิประโชน์พื้นฐานตามที่ระบุในประกาศ สปสช.เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการจ่ายค่าใช้จ่ายการให้บริการสาธารณสุข กรณีบริการฝากครรภ์ พ.ศ. 2564
48V102ติดเงื่อนไขการ verify data กรณีการให้บริการฝากครรภ์ครั้งที่ 91.เอกสารเวชระเบียนผู้ป่วยนอกหรือเอกสารอื่นที่หน่วยบริการใช้บันทึกการให้บริการผู้ป่วยนอกที่ระบุข้อมูลทั่วไปที่สามารถระบุได้ว่าเป็นเอกสาร หลักฐานของผู้รับบริการรายที่ขอตรวจสอบ ได้แก่ เลขที่บัตรประชาชน ชื่อ สกุล วันเดือนปีเกิด
2.ข้อมูล LMP EDC ของการตั้งครรภ์ในครรภ์ที่ขอตรวจสอบ
3.ข้อมูลบันทึกการให้บริการฝากครรภ์ ณ วันให้บริการที่ขอตรวจสอบ ตามสิทธิประโชน์พื้นฐานตามที่ระบุในประกาศ สปสช.เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการจ่ายค่าใช้จ่ายการให้บริการสาธารณสุข กรณีบริการฝากครรภ์ พ.ศ. 2564
49V103ติดเงื่อนไขการ verify data กรณีการให้บริการตรวจทางห้องปฏิบัติครั้งที่ 1ในการฝากครรภ์  (จ่ายแบบเหมาจ่ายในอัตรา 600 บาทต่อการตั้งครรภ์)1.เอกสารเวชระเบียนผู้ป่วยนอกหรือเอกสารอื่นที่หน่วยบริการใช้บันทึกการให้บริการผู้ป่วยนอกที่ระบุข้อมูลทั่วไปที่สามารถระบุได้ว่าเป็นเอกสาร หลักฐานของผู้รับบริการรายที่ขอตรวจสอบ ได้แก่ เลขที่บัตรประชาชน ชื่อ สกุล วันเดือนปีเกิด
2.ข้อมูล LMP EDC ของการตั้งครรภ์ ในครรภ์ที่ขอตรวจสอบ
3.บันทึกการส่งตรวจและผลการตรวจทางห้องปฎิบัติการตามรายการที่ระบุในประกาศ สปสช.เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการจ่ายค่าใช้จ่ายการให้บริการสาธารณสุข กรณีบริการฝากครรภ์ พ.ศ. 2564 กรณีที่มีการตรวจทางห้องปฏิบัติการมากกว่า 1 visit ให้ส่งทุกvisit ที่เกี่ยวข้อง
50V104ติดเงื่อนไขการ verify data กรณีการให้บริการตรวจทางห้องปฏิบัติครั้งที่2ในการฝากครรภ์  (ตรวจเมื่อ
อายุครรภ์ใกล้ครบกาหนด จ่ายแบบเหมาจ่ายในอัตรา 190 บาทต่อการตั้งครรภ์)
1.เอกสารเวชระเบียนผู้ป่วยนอกหรือเอกสารอื่นที่หน่วยบริการใช้บันทึกการให้บริการผู้ป่วยนอกที่ระบุข้อมูลทั่วไปที่สามารถระบุได้ว่าเป็นเอกสาร หลักฐานของผู้รับบริการรายที่ขอตรวจสอบ ได้แก่ เลขที่บัตรประชาชน ชื่อ สกุล วันเดือนปีเกิด
2.ข้อมูล LMP EDC ของการตั้งครรภ์ในครรภ์ที่ขอตรวจสอบ
3.บันทึกการส่งตรวจและผลการตรวจทางห้องปฎิบัติการตามรายการที่ระบุในประกาศสปสช.เรื่อง หลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการจ่ายค่าใช้จ่ายการให้บริการสาธารณสุข กรณีบริการฝากครรภ์ พ.ศ. 2564 กรณีที่มีการตรวจทางห้องปฏิบัติการมากกว่า 1 visit ให้ส่งทุกvisit ที่เกี่ยวข้อง
51V105ติดเงื่อนไขการ verify data กรณีการให้บริการตรวจสุขภาพช่องปากและบริการขัดทำความสะอาดฟันในหญิงตั้งครรภ์1.เอกสารเวชระเบียนผู้ป่วยนอกหรือเอกสารอื่นที่หน่วยบริการใช้บันทึกการให้บริการผู้ป่วยนอกที่ระบุข้อมูลทั่วไปที่สามารถระบุได้ว่าเป็นเอกสาร หลักฐานของผู้รับบริการรายที่ขอตรวจสอบ ได้แก่ เลขที่บัตรประชาชน ชื่อ สกุล วันเดือนปีเกิด
2.ข้อมูล LMP EDC ของการตั้งครรภ์ในครรภ์ที่ขอตรวจสอบ
3.การให้บริการตรวจสุขภาพช่องปาก ขัด และทำความสะอาดฟัน ในช่วงเวลาที่ให้บริการฝากครรภ์ (อาจเป็นvisitเดียวกันหรือต่าง visit ทั้งนี้ขอให้ส่งทุกvisit ที่เกี่ยวข้อง)
52V106ติดเงื่อนไขการ verify data กรณีการให้บริการตรวจอัลตราซาวด์ทารกในครรภ์1.เอกสารเวชระเบียนผู้ป่วยนอกหรือเอกสารอื่นที่หน่วยบริการใช้บันทึกการให้บริการผู้ป่วยนอกที่ระบุข้อมูลทั่วไปที่สามารถระบุได้ว่าเป็นเอกสาร หลักฐานของผู้รับบริการรายที่ขอตรวจสอบ ได้แก่ เลขที่บัตรประชาชน ชื่อ สกุล วันเดือนปีเกิด
2.ข้อมูล LMP EDC ของการตั้งครรภ์ในครรภ์ที่ขอตรวจสอบ
3.บันทึกการส่งตรวจ Ultrasound ทารกในครรภ์และผลการตรวจ  ณ วันให้บริการที่ขอตรวจสอบ
53V107ติดเงื่อนไขการ verify data กรณีการตรวจ  Pap Smear1. เอกสารบันทึกการให้บริการการตรวจ Pap smear ณ วันที่ให้บริการ ที่ขอตรวจสอบ
2. เอกสารใบรายงานผลการตรวจ Pap smear อย่างเป็นทางการ (Official report) ณ วันที่ขอตรวจสอบ 
54V108ติดเงื่อนไขการ verify data กรณีการตรวจ  Visual inspection with acetic acid (VIA)เอกสารบันทึกการให้บริการการตรวจ และผลการตรวจ VIA ณ วันที่ให้บริการ ที่ขอตรวจสอบ
 
55V109ติดเงื่อนไขการ verify data กรณีการตรวจ  HPV DNA test1. เอกสารบันทึกการให้บริการการตรวจ HPV DNA test กรณีเรียกเก็บค่าใช้จ่ายค่าบริการเก็บตัวอย่าง ณ วันที่ให้บริการ ที่ขอตรวจสอบ (HPV DNA SEND 50 บาท)
2. เอกสารใบรายงานผลการตรวจ HPV DNA test ที่เป็น official report ในกรณีที่เรียกเก็บค่าใช้จ่ายค่าตรวจทางห้องปฏิบัติการ ณ วันที่ขอตรวจสอบ (HPV DNA LAB  370)
3. เอกสารบันทึกหลักฐานการให้บริการการตรวจ HPV DNA test และรายงานผลการตรวจ HPV DNA test ที่เป็น official report ในกรณีที่เรียกเก็บค่าใช้จ่ายค่าบริการเก็บตัวอย่าง และค่าตรวจทางห้องปฏิบัติการ ณ วันที่ขอตรวจสอบ (HPV DNA  420)
56V110ติดเงื่อนไขการ verify data กรณีการตรวจ  Liquid based Cytology1. เอกสารบันทึกหลักฐานการให้บริการการตรวจ Liquid based cytology ณ วันที่ให้บริการ ที่ขอตรวจสอบ
2. เอกสารใบรายงานผลการตรวจ  Liquid based cytology อย่างเป็นทางการ (Official report) ณ วันที่ขอตรวจสอบ  
57V111ติดเงื่อนไขการ verify data กรณีการตรวจ Colposcope และหรือตัดชิ้นเนื้อ (Biopsy/LEEP)1. เอกสารบันทึกหลักฐานการให้บริการการตรวจ Colposcope และหรือตัดชิ้นเนื้อ (Biopsy/LEEP) ณ วันที่ให้บริการ ที่ขอตรวจสอบ
2. เอกสารใบรายงานผลรายงานผลการตรวจทางพยาธิที่เป็นทางการ (Official report) official report ในกรณีที่มีการตัดชิ้นเนื้อ  ณ วันที่ขอตรวจสอบ  
58V112ติดเงื่อนไขการ verify data กรณีบริการแว่นตาสาหรับเด็กที่มีสายตาผิดปกติ1. เอกสารบันทึกผลการตรวจระดับสายตา โดยจักษุแพทย์ หรือนักทัศนมาตร ณ วันที่ให้บริการที่ขอตรวจสอบ
2. เอกสารบันทึกการให้บริการแว่นตา และอุปกรณ์ที่เกี่ยวข้อง ตามรายการที่หน่วยบริการขอเบิกชดเชย ณ วันที่ขอตรวจสอบ 
59V113ติดเงื่อนไขการ verify data กรณีบริการป้องกันและควบคุมการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์1) เวชระเบียนผู้ป่วยนอก (OPD card) ที่มีข้อมูลทั่วไปของผู้รับบริการ (ชื่อ สกุล เลขประจำตัวประชาชน 13 หลัก อายุ/วันเดือนปีเกิด) และบันทึกการให้บริการ ณ วันที่ให้บริการที่ขอตรวจสอบ
2) หลักฐานการให้บริการ ใส่ห่วง หรือฝังยาคุม ตามบริการที่หน่วยบริการขอเบิกค่าใช้จ่าย ณ วันที่ให้บริการที่ขอตรวจสอบ
3) ข้อมูลบันทึกประวัติการยุติการตั้งครรภ์  ไม่เกิน 28 วัน ก่อนการให้บริการป้องกันและควบคุมการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์ ณ วันที่ให้บริการตามรายการที่ขอตรวจสอบ
60V114ติดเงื่อนไขการ verify data กรณีบริการป้องกันการยุติการตั้งครรภ์ที่ไม่ปลอดภัย1) เวชระเบียนผู้ป่วยนอก (OPD card) ที่มีข้อมูลทั่วไปของผู้รับบริการ (ชื่อ สกุล เลขประจำตัวประชาชน 13 หลัก อายุ/วันเดือนปีเกิด) และบันทึกการให้บริการ ณ วันที่ให้บริการที่ขอตรวจสอบ
2) หลักฐานบันทึกการให้บริการ การสั่งยาโดยแพทย์ และใช้ยามิฟิพริสโตนและไมโซพรอสตอลชนิดบรรจุในแผงเดียวกัน (Misoprostol 200 mcg + Mifepristone 200 mg combination pack) หรือ การทำหัตถการวิธีทางศัลยกรรม ได้แก่การใช้กระบอกดูดสุญญากาศ (Manual Vacuum Aspiration: MVA)  หรือ การใช้เครื่องดูดสุญญากาศไฟฟ้า(Elective Vacuum Aspiration : EVA) ตามบริการที่หน่วยบริการขอเบิกค่าใช้จ่าย ณ วันที่ให้บริการที่ขอตรวจสอบ
3) ระบุข้อบ่งชี้ในการทำ
61V201ติดเงื่อนไขการ verify data กรณีมีการเบิกค่าใช้จ่ายผิดปกติในโรงพยาบาลระดับเดียวกัน (OPAE)1.เอกสารเวชระเบียนผู้ป่วยนอกที่สามารถระบุได้ว่าเป็นเอกสาร หลักฐานของผู้รับบริการรายที่ขอตรวจสอบ ได้แก่ เลขที่บัตรประชาชน ชื่อ สกุล วันเดือนปีเกิด
2.เอกสารเวชระเบียนผู้ป่วยนอก ในวันที่ให้บริการ และหรือที่เกี่ยวข้องกับการรักษาครั้งนี้
3. หลักฐานการได้รับการตรวจรักษาและผลการตรวจ (ถ้ามีการเบิก)
4. ใบแสดงรายการค่าใช้จ่ายที่ระบุจำนวนและราคา ตามรายการที่ขอเบิก
62V202มีค่าใช้จ่ายบางรายการสูงผิดปกติในกลุ่มโรคเดียวกัน (OPAE)1.เอกสารเวชระเบียนผู้ป่วยนอกที่สามารถระบุได้ว่าเป็นเอกสาร หลักฐานของผู้รับบริการรายที่ขอตรวจสอบ ได้แก่ เลขที่บัตรประชาชน ชื่อ สกุล วันเดือนปีเกิด
2.เอกสารเวชระเบียนผู้ป่วยนอก ในวันที่ให้บริการ และหรือที่เกี่ยวข้องกับการรักษาครั้งนี้
3. หลักฐานการได้รับการตรวจรักษาและผลการตรวจ (ถ้ามีการเบิก)
4. ใบแสดงรายการค่าใช้จ่ายที่ระบุจำนวนและราคา ตามรายการที่ขอเบิก
63V203มีจำนวนการเข้ารับบริการมากผิดปกติ (OPAE)1.เอกสารเวชระเบียนผู้ป่วยนอกที่สามารถระบุได้ว่าเป็นเอกสาร หลักฐานของผู้รับบริการรายที่ขอตรวจสอบ ได้แก่ เลขที่บัตรประชาชน ชื่อ สกุล วันเดือนปีเกิด
2.เอกสารเวชระเบียนผู้ป่วยนอก ที่เกี่ยวข้องกับการรักษาครั้งนี้
3. หลักฐานการได้รับการตรวจรักษา และผลการตรวจ (ถ้ามีการเบิก)
4. ใบแสดงรายการค่าใช้จ่ายตามรายการที่ขอเบิก
64V204มีค่าใช้จ่ายบางรายการสูงผิดปกติ (OPAE)1.เอกสารเวชระเบียนผู้ป่วยนอกที่สามารถระบุได้ว่าเป็นเอกสาร หลักฐานของผู้รับบริการรายที่ขอตรวจสอบ ได้แก่ เลขที่บัตรประชาชน ชื่อ สกุล วันเดือนปีเกิด
2.เอกสารเวชระเบียนผู้ป่วยนอก ในวันที่ให้บริการ และหรือที่เกี่ยวข้องกับการรักษาครั้งนี้
3. หลักฐานการได้รับการตรวจรักษาและผลการตรวจ (ถ้ามีการเบิก)
4. ใบแสดงรายการค่าใช้จ่ายที่ระบุจำนวนและราคา ตามรายการที่ขอเบิก
65V205มีค่าใช้จ่ายบางรายการสูงผิดปกติ (WALKIN)1.เอกสารเวชระเบียนผู้ป่วยนอกที่สามารถระบุได้ว่าเป็นเอกสาร หลักฐานของผู้รับบริการรายที่ขอตรวจสอบ ได้แก่ เลขที่บัตรประชาชน ชื่อ สกุล วันเดือนปีเกิด
2.เอกสารเวชระเบียนผู้ป่วยนอก ในวันที่ให้บริการ และหรือที่เกี่ยวข้องกับการรักษาครั้งนี้
3. หลักฐานการได้รับการตรวจรักษาและผลการตรวจ (ถ้ามีการเบิก)
4. ใบแสดงรายการค่าใช้จ่ายที่ระบุจำนวนและราคา ตามรายการที่ขอเบิก
66V206ติดเงื่อนไขการ verify data กรณีมีการเบิกค่าใช้จ่ายผิดปกติในโรงพยาบาลระดับเดียวกัน  (WALKIN)1.เอกสารเวชระเบียนผู้ป่วยนอกที่สามารถระบุได้ว่าเป็นเอกสาร หลักฐานของผู้รับบริการรายที่ขอตรวจสอบ ได้แก่ เลขที่บัตรประชาชน ชื่อ สกุล วันเดือนปีเกิด
2.เอกสารเวชระเบียนผู้ป่วยนอก ในวันที่ให้บริการ และหรือที่เกี่ยวข้องกับการรักษาครั้งนี้
3. หลักฐานการได้รับการตรวจรักษาและผลการตรวจ (ถ้ามีการเบิก)
4. ใบแสดงรายการค่าใช้จ่ายที่ระบุจำนวนและราคา ตามรายการที่ขอเบิก
67V207มีจำนวนการเข้ารับบริการมากผิดปกติ  (WALKIN)1.เอกสารเวชระเบียนผู้ป่วยนอกที่สามารถระบุได้ว่าเป็นเอกสาร หลักฐานของผู้รับบริการรายที่ขอตรวจสอบ ได้แก่ เลขที่บัตรประชาชน ชื่อ สกุล วันเดือนปีเกิด
2.เอกสารเวชระเบียนผู้ป่วยนอก ที่เกี่ยวข้องกับการรักษาครั้งนี้
3. หลักฐานการได้รับการตรวจรักษา และผลการตรวจ (ถ้ามีการเบิก)
4. ใบแสดงรายการค่าใช้จ่ายตามรายการที่ขอเบิก
68V208ติดเงื่อนไขการ verify data กรณีมีจำนวนการเข้ารับบริการมากผิดปกติ (OPBKK)1.เอกสารเวชระเบียนผู้ป่วยนอกที่สามารถระบุได้ว่าเป็นเอกสาร หลักฐานของผู้รับบริการรายที่ขอตรวจสอบ ได้แก่ เลขที่บัตรประชาชน ชื่อ สกุล วันเดือนปีเกิด
2.เอกสารเวชระเบียนผู้ป่วยนอก ในวันที่ให้บริการ และหรือที่เกี่ยวข้องกับการรักษาครั้งนี้
3. หลักฐานการได้รับการตรวจรักษาและผลการตรวจ (ถ้ามีการเบิก)
4. ใบแสดงรายการค่าใช้จ่ายที่ระบุจำนวนและราคา ตามรายการที่ขอเบิก
69V209ติดเงื่อนไขการ verify data กรณีมีค่าใช้จ่ายรวม สูงผิดปกติ สำหรับหน่วยบริการในระดับเดียวกัน  (OPBKK)1.เอกสารเวชระเบียนผู้ป่วยนอกที่สามารถระบุได้ว่าเป็นเอกสาร หลักฐานของผู้รับบริการรายที่ขอตรวจสอบ ได้แก่ เลขที่บัตรประชาชน ชื่อ สกุล วันเดือนปีเกิด
2.เอกสารเวชระเบียนผู้ป่วยนอก ในวันที่ให้บริการ และหรือที่เกี่ยวข้องกับการรักษาครั้งนี้
3. หลักฐานการได้รับการตรวจรักษาและผลการตรวจ (ถ้ามีการเบิก)
4. ใบแสดงรายการค่าใช้จ่ายที่ระบุจำนวนและราคา ตามรายการที่ขอเบิก
70V210ติดเงื่อนไขการ verify data กรณีมีค่าใช้จ่ายบางรายการสูงผิดปกติ  (OPBKK)1.เอกสารเวชระเบียนผู้ป่วยนอกที่สามารถระบุได้ว่าเป็นเอกสาร หลักฐานของผู้รับบริการรายที่ขอตรวจสอบ ได้แก่ เลขที่บัตรประชาชน ชื่อ สกุล วันเดือนปีเกิด
2.เอกสารเวชระเบียนผู้ป่วยนอก ในวันที่ให้บริการ และหรือที่เกี่ยวข้องกับการรักษาครั้งนี้
3. หลักฐานการได้รับการตรวจรักษาและผลการตรวจ (ถ้ามีการเบิก)
4. ใบแสดงรายการค่าใช้จ่ายที่ระบุจำนวนและราคา ตามรายการที่ขอเบิก
71V211ติดเงื่อนไขการ verify data กรณีมีค่าใช้จ่ายรวม สูงผิดปกติ ในกลุ่มโรคเดียวกัน  (OPBKK)1.เอกสารเวชระเบียนผู้ป่วยนอกที่สามารถระบุได้ว่าเป็นเอกสาร หลักฐานของผู้รับบริการรายที่ขอตรวจสอบ ได้แก่ เลขที่บัตรประชาชน ชื่อ สกุล วันเดือนปีเกิด
2.เอกสารเวชระเบียนผู้ป่วยนอก ในวันที่ให้บริการ และหรือที่เกี่ยวข้องกับการรักษาครั้งนี้
3. หลักฐานการได้รับการตรวจรักษาและผลการตรวจ (ถ้ามีการเบิก)
4. ใบแสดงรายการค่าใช้จ่ายที่ระบุจำนวนและราคา ตามรายการที่ขอเบิก
Happy
0 0 %
Sad
0 0 %
Excited
1 100 %
Sleepy
0 0 %
Angry
0 0 %
Surprise
0 0 %

รายละเอียดการผิดพลาดของข้อมูล (รหัสติดDENY)

0 0
Read Time:21 Minute, 31 Second

รายละเอียดคำอธิบายการผิดพลาดของข้อมูล (ติดDENY) ในระบบ e-Claim ของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ และวิธีปฏิบัติ/แนวทางแก้ไข ให้ถูกต้อง อัพเดต ณ วันที่ 3 กรกฎาคม 2565 จากเว็บไซต์ https://eclaim.nhso.go.th

กดคีย์บอร์ด Ctrl และปุ่ม F เพื่อค้นหาข้อมูล

   ลำดับCODEDESC_NAMEแนวทางการแก้ไข
1A01หน่วยบริการที่รักษา และหน่วยบริการประจำ อยู่กองทุนจังหวัดเดียวกัน 
2A03รหัสโรคอยู่ในกลุ่ม follow up 
3A06หน่วยบริการที่รักษาเป็นที่เดียว กับหน่วยบริการประจำ 
4A10ใช้รหัส External cause เป็น Pdx 
5A11ไม่ระบุประเภทการขอเบิกเป็น AE 
6A12เบิก AE แต่อยู่ จังหวัด เดียวกัน 
7A13ส่งต่อมาจากจังหวัดเดียวกับหน่วยบริการหลัก 
8A14อยู่ในกลุ่มอาการโรคไม่ฉุกเฉิน อยู่ในกลุ่มโรคการมาตรวจฟัน 
9A51เบิก FP001,FP002 ข้ามจังหวัด 
10A52ไม่พบการ Autentication ในระบบประสานงานเพื่อขออุทธรณ์ไปที่ สปสช.เขต
11B01ไม่เข้าเงื่อนไขการจ่ายกรณี OPBKKตรวจสอบการบันทึกเบิก แก้ไขข้อมูลให้ถูกต้อง
1. การเบิกหมวด 5 ค่าเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา  จำนวน QTY > 1,000 ชิ้น
2. มีการเรียกเก็บค่าใช้จ่ายแบบ OP และวันต่อมามีการเรียกเก็บแบบ IP ใน HCODE เดียวกัน
3.จำนวนเงินจ่ายชดเชยของ visit นั้น มากกว่า 2 เท่าของจำนวนเงินเรียกเก็บ
4. เบิก OPพิการ ยอดเรียกเก็บมากกว่า 50,000 บาท
12C01การเบิกค่าพาหนะทีไม่เข้าเงื่อนไขการจ่าย 
13C04เบิกค่ารถรับส่งต่อกรณีมากกว่า 50 กม.แต่บันทึกรหัสรายการขอเบิกไม่ครบถ้วน และ ไม่มีการรับส่งต่อ 
14C05กรณีเบิกค่าใช้จ่ายค่าพาหนะกรณีอากาศยานปีกหมุน (เฮลิคอปเตอร์)สิทธิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ  ตรวจพบว่า ข้อมูลชื่อรพ.ปลายทาง ไม่ถูกต้อง   หรือ ข้อมูลชนิดเครื่องยนต์ และระยะเวลาที่ใช้บิน ไม่สอดคล้องกับ ข้อมูลจาก สพฉ.ตรวจสอบแก้ไขข้อมูลให้ถูกต้อง และส่งเบิกใหม่อีกครั้ง
15C09เบิกค่าพาหนะไม่สัมพันธ์กับระยะทาง 
16D32การรักษาโรคนิ่วในทางเดินปัสสาวะ ระบุ Class ไม่ได้ 
17D33Stroke ไม่เข้าเกณฑ์ STROKE (รหัสโรค รหัสหัตถการที่บันทึกมาไม่อยู่ในเงื่อนไขการจ่ายชดเชย) 
18D36เป็นการเข้ารับบริการด้วยอุบัติเหตุหรือเจ็บป่วยฉุกเฉินข้ามจังหวัด ตรวจสอบการลงทะเบียนในโครงการ ฮีโมฟีเลีย 
19D37การรักษาโรคนิ่วในทางเดินปัสสาวะ การรักษาครั้งนี้ เกินจำนวนครั้งต่อปีงบประมาณ ที่มีการกำหนดไว้ 
20D38การผ่าตัดข้อเข่าในผู้ป่วยอายุน้อยกว่า 55 ปี ต้องมีการ Pre-autorize เมื่อดำเนินการเรียบร้อยแล้วส่งข้อมูลเข้ามาใหม่อีกครั้ง 
21D39ไม่ใช่หน่วยบริการที่มีศักยภาพในการผ่าตัดข้อเข่า กรณีต้องการอุทธรณ์ติดต่อที่ สปสช.เขตเพื่อพิจารณาศักยภาพหน่วยบริการและการเบิกจ่ายในกรณีนี้ 
22D44Leukemia & Lymphoma ไม่มี Projectcode 
23D45Leukemia & Lymphoma ไม่ได้ลงทะเบียน 
24D46Leukemia & Lymphoma อายุน้อยกว่า 15 ปี 
25D47Leukemia & Lymphoma เป็น IP แต่เบิก protocol ของ OP 
26D48Leukemia & Lymphoma ICD-10 / ICD-9CM  ไม่สัมพันธ์กับรายการ LL  ที่ขอเบิก 
27D49Leukemia & Lymphoma ไม่มี protocol 
28D50Leukemia & Lymphoma เปลี่ยน protocol 
29D51Leukemia & Lymphoma เบิกเกิน 4 ครั้ง 
30D52การรักษาโรคนิ่วในทางเดินปัสสาวะ การรักษาด้วยเครื่องสลายนิ่ว(Class3) ต้องไม่เป็นกรณี Emergency 
31D53เบิกกรณีเลเซอร์จากเบาหวานขึ้นจอประสาทตา มากกว่า 2 ครั้งต่อปีงบประมาณ 
32D55เป็นการเข้ารับบริการด้วยอุบัติเหตุหรือเจ็บป่วยฉุกเฉินข้ามจังหวัด มีโครงการพิเศษ DMISHD 
33D56เป็นการเข้ารับบริการด้วยอุบัติเหตุหรือเจ็บป่วยฉุกเฉินข้ามจังหวัด แต่รหัส Pdx (ICD10) อยู่ในกลุ่ม Senile Cataract 
34D57เบิก ค่าlab Erotinib. ไม่ตรงตามเงื่อนไขของโรคที่กำหนดการเบิก ค่าlab Erotinib. ในผู้ป่วยมะเร็ง non-small-cell lung carcinoma (NSCLC) ระยะลุกลามถึงแพร่กระจายเท่านั้น ตรวจสอบและแก้ไขมาให้ถูกต้องแล้วส่งเข้ามาใหม่อีกครั้ง กรณีไม่ตรงตามเงื่อนไขที่กำหนดไม่สามารถเบิกได้
35D58เบิก ค่าlab Erotinib ไม่ใช่หน่วยบริการที่กำหนดการเบิก ค่าlab Erotinib เฉพาะหน่วยบริการที่กำหนดเท่านั้น กรณีไม่ใช่ไม่สามารถเบิกได้
36D62STEMI รหัสโรคและรหัสหัตถการ ไม่สอดคล้องกับการเบิกจ่าย 
37D63STEMI ห้ามใช้ยา streptokinase ซ้ำอีกในผู้ป่วยที่เคยได้รับยา Streptokinase มาก่อน และเลือกใช้ยา Alteplase ในกรณีที่ผู้ป่วยแพ้ Streptokinase ภายใน 1 ปี 
38D64รหัสหัตถการ (ICD9) ไม่สัมพันธ์กับจำนวนครั้งในการผ่าตัด 
39D65การเบิกยา Streptokinase และ rt-PA ใน Admission เดียวกัน 
40D66 เบิก CATARCT เข้ามาแต่ไม่รหัส โรครอง(SDX): H54.4 หรือ H54.5 หรือ H54.6 
41D67กรณีผ่าตัดตาต้อกระจก (Cataract) ผู้ป่วยที่มีระดับสายตา (VA) ดีกว่าหรือเท่ากับ 20/200 จะได้รับการจ่ายชดเชยทุก 6 เดือน 
42D68ไม่ใช่หน่วยบริการที่มีศักยภาพในการผ่าตัดตาต้อกระจก (Cataract) กรณีต้องการอุทธรณ์ส่งเอกสารเพื่ออุทธรณ์การเบิกจ่ายมาไปที่ สปสช.เขตที่สังกัดอยู่ 
43D69กรณีผ่าตัดตาต้อกระจก (Cataract) ที่อายุน้อยกว่า 40 ปี ไม่เข้าเณฑ์การจ่ายชดเชยจาก สปสช.กรณียืนยันโรคและการผ่าตัด ส่งเอกสารอุทธรณ์ที่สำนักสนับสนุนคุณภาพและมาตรฐานหน่วยบริการ สปสช.
44D70เบิกกรณี Palliative Care ร่วมกับค่าใช้จ่ายสูงตรวจสอบการบันทึกข้อมูลกรณีการเยี่ยมบ้านในผู้ป่วยระยะท้ายไม่สามารถเบิกค่าใช้จ่ายสูง (HC)ได้
45D71ไม่เข้าเกณฑ์การเบิกภาวะแทรกซ้อนจากการผ่าตัด Senile Cataract 
46D72กรณีผ่าตัดตาต้อกระจก (Cataract) ให้รหัสโรคไม่ถูกต้องตรวจสอบอายุ และรหัสโรค บันทึกรหัสโรคให้สอดคล้องกับอายุตามหลักการให้รหัสโรค
47D73เบิกกรณี T1DM หรือ GDM หรือ PDM  รหัส ICD10 ไม่ถูกต้องตามเงื่อนไขที่กำหนดตรวจสอบการบันทึกรหัส ICD10 กรณีเบิกตามเงื่อนไขเบาหวานชนิดที่ 1 (T1DM)  หรือกรณีหญิงตั้งครรภ์ที่ถูกวินิจฉัยว่าเป็นเบาหวาน (GDM) หรือหญิงที่เป็นเบาหวานก่อนตั้งครรภ์ (Pregestational DM)  แก้ไขให้ถูกต้อง แล้วส่งเข้ามาใหม่อีกครั้ง 
48D74เบิกกรณี T1DM,GDM,PDM  ไม่พบรายชื่อผู้ป่วยในฐานทะเบียนสปสช. ตรวจสอบข้อมูลผู้ป่วย จากสมาคมเบาหวานฯ ดำเนินการลงทะเบียนให้ถูกต้อง ครบถ้วนแล้วส่งข้อมูลเข้ามาใหม่อีกครั้ง
49D75เบิกกรณี T1DM  ไม่พบ มี Authen code 
50D76เบิกกรณี T1DM,GDM,PDM  ไม่ใช่หน่วยบริการขึ้นทะเบียนกรณี T1DM ต้องเป็นหน่วยบริการที่สมาคมเบาหวานฯรับรอง/กรณี GDM,PDM  จะต้องเป็นหน่วยบริการที่มีคุณสมบัติตามที่กำหนด
51D77เบิกกรณี GDM, PDM ไม่บันทึกข้อมูล LMPบันทึกข้อมูล LMP ให้ถูกต้อง ครบถ้วน แล้วส่งเข้ามาใหม่อีกครั้ง
52D78เบิกกรณี GDM, PDM ไม่ใช่เพศหญิง หรือ อายุไม่อยู่ในช่วงอายุ 12-45 ปีตรวจสอบการบันทึกข้อมูลเพศ หรือ อายุของผู้ป่วย แก้ไขให้ถูกต้อง แล้วส่งเข้ามาอีกครั้ง กรณีไม่เป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนดส่งหนังสืออุทธรณ์มาที่ สปสช.เพื่อพิจารณาต่อไป
53F01กรณีเด็กแรกเกิด (IP NB) ให้รหัสโรค/รหัสหัตถการไม่ถูกต้องตามหลักการให้รหัส มี PDX/Sdx =กลุ่มจิตเวช  
54F02สิทธิประกันสังตม เบิกกรณีส่งเสริมป้องกันโรคไม่ตรงตามเงื่อนไขที่กำหนดตรวจสอบการบันทึกข้อมูลเบิก หากเบิกกรณีอื่นๆ ร่วมกับส่งเสริมป้องกันโรค แก้ไขการบันทึกสถานพยาบาลหลักและประเภทสถานพยาบาลหลักให้ถูกต้อง แล้วส่งเข้ามาใหม่ หรือกรณีที่เบิกไม่ตรงตามเงื่อนไขส่งเสริมป้องกันโรค ให้ส่งเบิกตามเงื่อนไขปกติ
55F03สิทธิข้าราชการ/อปท.เบิกกรณีส่งเสริมป้องกันโรคไม่ตรงตามเงื่อนไขที่กำหนดตรวจสอบการบันทึกข้อมูลเบิก หากเบิกกรณีอื่นๆ ร่วมกับส่งเสริมป้องกันโรค สิทธิข้าราชการต้องบันทึกเลข Aroval code หรือหากเป็น รพ.เอกชนที่เข้าร่วมโครงการส่งเสริมป้องกันโรคไม่สามารถเบิกกรณีอื่นๆได้ แก้ไขการบันทึกข้อมูลให้ถูกต้องแล้วส่งเข้ามาใหม่
56F04สิทธิ UC เบิกกรณีส่งเสริมป้องกันโรคไม่ตรงตามเงื่อนไขที่กำหนดตรวจสอบการบันทึกข้อมูลเบิก ไม่สามารถเบิกกรณีอื่นๆ ร่วมกับส่งเสริมป้องกันโรคกรณีให้บริการในจังหวัดเดียวกับหน่วยบริการประจำ  แก้ไขการบันทึกเบิกเฉพาะส่งเสริมป้องกันโรค แล้วส่งเข้ามาใหม่ หรือกรณีที่เบิกไม่ตรงตามเงื่อนไขส่งเสริมป้องกันโรค ไม่สามารถเบิกผ่านโปรแกรม e-Claim ได้
57G01หน่วยบริการไม่บันทึกข้อมูล ระบุใช้สิทธิ UC 
58G02การทำ Organ Transplantation ไม่อยู่ในชุดสิทธิประโยชน์ของ UC 
59G03ระหว่างรักษาเป็น IP  มีการรักษาเป็น OP ในหน่วยบริการเดียวกัน 
60G04มีสิทธิอื่นที่ไม่ใช่สิทธิ UC (ข้าราชการ หรือประกันสังคม หรือรัฐวิสาหกิจ) 
61G05จำนวนวันนอนไม่สัมพันธ์กับการรักษาพยาบาล /ค่าใช้จ่าย 
62G06เบิกค่าใช้จ่ายสูงมากกว่าปกติ ตรวจสอบการบันทึกค่าใช้จ่ายแก้ไขแล้วส่งเข้ามาใหม่ กรณียืนยันตามข้อมูลที่ส่ง ให้ส่งเอกสารเพื่อยืนยันค่าใช้จ่ายดังกล่าว 
63G07หน่วยบริการประจำไม่อยู่ในโครงการ UC 
64G08รหัสหัตถการ 8600 (Insertion of totallly Implantable in fusion pump) ไม่สัมพันธ์กับศักยภาพโรงพยาบาล 
65G09มีชนิดการจำหน่าย (IPD) เท่ากับ 1 (With Approval) และวันรับบริการเป็นวันเดียวกันกับวันที่จำหน่ายออกจากโรงพยาบาล และค่าน้ำหนักสัมพัทธ์ (NHSO) มากกว่า 4 
66G10ให้รหัสโรค/รหัสหัตถการไม่ถูกต้องตามหลักการให้รหัส หรือ บันทึกน้ำหนักแรกเกิดไม่ถูกต้อง/ไม่บันทึกน้ำหนักแรกเกิด 
67G11สิทธิว่าง (PUC) ไม่สามารถเบิกชดเชย ART7RF กรณีเหตุสมควร (มาตรา 7) ได้ 
68G13Leave Day ไม่ถูกต้อง 
69G14ข้อมูลซ้ำซ้อนเป็นข้อมูลที่มีการเบิกจ่ายครบถ้วนตามหลักเกณฑ์ที่กำหนดแล้ว ไม่สามารถเบิกจ่ายได้อีก
70G15เป็น OP แล้วเป็น IP น้อยกว่า 4 ชั่วโมง 
71G17มีการเรียกเก็บค่าใช้จ่ายสูงผิดปกติ มากกว่า 50,000 บาท 
72G18เบิกเป็น OP และ IP ใน Admission เดียวกัน 
73G20หน่วยบริการทบทวน เรื่อง หลักการให้รหัสโรค 
74G21หน่วยบริการทบทวน เรื่อง หลักการให้รหัสหัตถการ หัตถการ=0339 ไม่สัมพันธ์กับศักยภาพของโรงพยาบาล 
75G22หน่วยบริการทบทวน เรื่อง หลักการให้รหัสหัตถการ หรือจำนวนวันนอน กรณีใส่เครื่องช่วยหายใจ 
76G23หน่วยบริการทบทวน เรื่อง หลักการให้รหัสหัตถการ กรณีคลอดบุตร 
77G24ตรวจสอบพบน้ำหนักเด็กแรกเกิดมากกว่า 6 กิโลกรัม – อายุน้อยกว่า 28 วัน 
78G25อายุมากกว่า 12 ปี หรือ อายุมากกว่า 12 ปี หรือ โรคและหัตถการ ไม่ตรงตามหลักเกณฑ์ One Day surgery   
79G26จ่ายใน CAPD 
80G27ผิดหลักการให้รหัสโรค 
81G28ตรวจสอบการให้รหัสโรค กรณีการผ่าตัดไส้ติ่งที่มีภาวะ Peritonitis ร่วมด้วย 
82G29ตรวจสอบกรณีการให้รหัสหัตถการ=1391 
83G30สถานพยาบาลบันทึกจำนวนเงินขอเบิกค่าห้อง/ค่าห้องพิเศษเกินอัตราที่กำหนด 
84G31จำนวนเงินที่ขอเบิกไม่สัมพันธ์กับโรคที่รักษาและระดับโรงพยาบาล 
85G32เลขที่เอกสารไม่ถูกต้อง 
86G33ไม่ใช่หน่วยบริการที่ขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยบริการเฉพาะด้าน PCIหากให้บริการผู้ป่วยฉุกเฉิน ส่งเอกสารเพื่ออุทธรณ์การเบิกจ่ายมาที่แผนงานสนับสนุนระบบบริการโรคเรื้อรังและโรคเฉพาะ สปสช.
87G34หน่วยบริการเฉพาะด้าน PCI ในเขต 6 ระยอง รอผลการ Pre-audit เมื่อผ่านการอนุมัติแล้วจึงจะนำข้อมูลมาจ่ายชดเชยค่าบริการ 
88G35ข้อมูลเบิกกรณีทำหัตถการ PCI ของหน่วยบริการในเขต 6 ระยอง ไม่ผ่านการอนุมัติ (Pre-audit)กรณีต้องการอุทธรณ์ติดต่อ สปสช.เขต 6 ระยอง
89G36ให้รหัสประเภทโรคเบาหวานไม่สอดคล้องกับอายุตรวจสอบการให้รหัสโรคเบาหวานกรณีอายุตั้งแต่ 50 ปีขึ้นไป ไม่สามารถให้รหัส Pdx or Sdx = E10.-ได้ แก้ไขรหัสโรคเบาหวานให้เหมาะสมกับอายุแล้วส่งเข้ามาใหม่ หรือหากยืนยันส่งเอกสารยืนยันมาที่ สปสช.
90G37ไม่ใช่หน่วยบริการที่ขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยบริการเฉพาะด้านการรักษาโรคหัวใจและหลอดเลือดด้วยวิธีการผ่าตัดหากให้บริการผู้ป่วยฉุกเฉิน หรือยืนยันการทำหัตถการ ส่งเอกสารเพื่ออุทธรณ์การเบิกจ่ายมาที่แผนงานสนับสนุนระบบบริการโรคเรื้อรังและโรคเฉพาะ สปสช.
91G38มีการจ่ายชดเชยกรณีกรณียุติการตั้งครรภ์ที่ไม่ปลอดภัยในผู้ป่วยรายนี้แล้วตรวจสอบการบันทึกเลขบัตรประชาชน แก้ไขมาให้ถูกต้อง หรือหากต้องการอุทธร์ส่งเอกสารที่ สำนักสนับสนุนระบบบริการปฐมภูมิ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
92G39ไม่พบการลงทะเบียนเบิกจ่ายตรง กรณีเบิกชดเชยการคุมกำเนิดในวัยรุ่นร่วมกับการรักษาอื่นๆ ในสิทธิข้าราชการ/อปท.กรณีที่มีการเบิกค่ารักษาพยาบาลอื่นร่วมกับการเบิกชดเชยการคุมกำเนิดในวัยรุ่น หน่วยบริการต้องมีการลงทะเบียนเบิกจ่ายตรง หรือขออนุมัติก่อนส่งข้อมูลเบิกชดเชยค่าบริการ
93G40 ขอเบิกกรณี Ambulartory Care แต่ไม่เข้าหลักเกณฑ์/เงื่อนไข ODS หรือ Senile Cataractกรณี ODS ตรวจสอบ ICD10 , ICD9 และ Hcode ไม่ใช่หน่วยบริการที่ขึ้นทะเบียนเป็น ODS เบิกไม่ได้
กรณี Senile Cataract ตรวจสอบ กลุ่ม DRGs , ICD10 , ICD9 และ Hcode ไม่ใช่หน่วยบริการที่ขึ้นทะเบียนเป็น Cataract เบิกไม่ได้
94G41เบิก Medabon แต่ไม่ใช่หน่วยบริการที่ขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยบริการร่วมให้บริการด้านสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค1. หน่วยบริการ  UC ให้ติดต่อขึ้นทะเบียนกับกรมอนามัย
2. สถานบริการอื่นๆ ให้ติดต่อการขึ้นทะเบียนกับกรมอนามัย และติดต่อกับ สปสช.เขต เพื่อเป็นหน่วยร่วมให้บริการด้านสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค
95G42ไม่พบการอนุมัติก่อนการผ่าตัด (Pre-authorize) กรณีการผ่าตัด MIS โรคอ้วนทุพพลภาพการผ่าตัด MIS โรคอ้วนทุพพลภาพ ต้องขออนุมัติก่อนการผ่าตัด (Pre-authorize) กรณีต้องการอุทธรณ์ให้ส่งเอกสารความจำเป็นมาที่ สปสช.พิจารณาเป็นรายๆ
96G43ไม่ใช่หน่วยบริการที่ผ่านเกณฑ์การประเมิน การให้บริการใช้เครื่องพยุงการทำงานของปอดและหัวใจ (ECMO)หน่วยบริการที่ขอรับค่าใช้จ่ายเครื่องพยุงการทำงานของปอดและหัวใจ (ECMO) ต้องเป็นหน่วยบริการที่ผ่านเกณฑ์การประเมินศักยภาพ การให้บริการใช้เครื่องพยุงการทำงานของปอดและหัวใจ (ECMO)
97G44ไม่ใช่หน่วยบริการที่ผ่านเกณฑ์การประเมิน การให้บริการผ่าตัดฝังชุดประสาทหูเทียมหน่วยบริการที่ขอรับค่าใช้จ่ายผ่าตัดฝังชุดประสาทหูเทียม ต้องเป็นหน่วยบริการที่ผ่านเกณฑ์การประเมินศักยภาพ การให้บริการผ่าตัดฝังชุดประสาทหูเทียม
98G45ไม่พบการอนุมัติก่อนการผ่าตัด (Pre-authorize) กรณีการผ่าตัดและเบิกอุปกรณ์ชุดประสาทหูเทียมการผ่าตัดและเบิกอุปกรณ์ชุดประสาทหูเทียมต้องขออนุมัติก่อนการผ่าตัด (Pre-autorize) กรณีต้องการอุทธรณ์ให้ส่งเอกสารระบุความจำเป็นมาที่ สปสช.พิจารณาเป็นรายๆ
99G46กรณีผ่าตัดฝังประสาทหูเทียมที่อายุมากกว่า 5 ปี ไม่เข้าเณฑ์การจ่ายชดเชยจาก สปสช. กรณีต้องการอุทธรณ์ให้ส่งเอกสารระบุความจำเป็นมาที่ สปสช.พิจารณาเป็นรายๆ
100G47กรณีการสวนหัวใจ (Coronary Artery  Angiography-CAG)  ไม่พบข้อมูล one pageบันทึกข้อมูลหน้า One page ให้ครบถ้วน แล้วส่งข้อมูลเข้ามาใหม่อีกครั้ง
101H02เบิก OPHC / IPHC2 แต่ ICD 10 / ICD-9CM ไม่สัมพันธ์กับรายการที่เบิก 
102H03จำนวนเงินขอเบิกเท่ากับ 0 หรือ ปริมาณเท่ากับ 0 
103H05เบิก รายการ OPHC ร่วมกัน 
104H06เบิกเมทาโดน ( MMT ) ที่จำนวนครั้งมากกว่าจำนวนวันในเดือนที่เบิก 
105H08เบิก OPHC ( CMV ) ให้ตรวจสอบจำนวน 
106H11จำนวนรวมน้อยกว่าจำนวนเงินขอเบิก HC 
107H12เบิกชดเชยเกินจำนวน cycle/เม็ด ที่กำหนดในการรักษาตามโปรโตคอล 
108H13เบิกชดเชยค่ายามะเร็งสูงผิดปกติ มากกว่า 100,000 บาท ตรวจสอบแล้วแก้ไขเข้ามาใหม่ 
109H14ให้ตรวจสอบจำนวนมิลลิกรัม (mg) / จำนวนเม็ดที่ขอเบิกในการรักษามะเร็งตามโปรโตคอล 
110H15ยา จ 2 เบิกในระบบ VMI 
111H16เป็นการรักษาข้ามจังหวัด ให้แก้ไขข้อมูล (อุทธรณ์) 
112H17ไม่ใช่หน่วยบริการที่ขึ้นทะเบียนรับส่งต่อเฉพาะด้านรังสีรักษาสำหรับผู้ป่วยมะเร็งติดต่อ สปสช.เขตเพื่อขอรับการประเมินหน่วยฯ
113H18ไม่ใช่หน่วยบริการที่รับการส่งต่อที่ให้บริการด้านเคมีบำบัดสำหรับผู้ป่วยมะเร็งติดต่อ สปสช.เขตเพื่อขอรับการประเมินหน่วยฯ
114H19การรักษาโรคมะเร็งตามโปรโตคอล หลังจากมีการรักษานอกโปรโตคอลแล้วตรวจสอบการบันทึกเบิกกรณีให้ยาเคมีบำบัด แก้ไขให้ถูกต้องแล้วส่งเข้ามาใหม่ หากยืนยันการรักษาส่งเอกสารอุทธรณ์ที่สำนักงานประกันสังคม
115I01เบิก Instrument ไม่บันทึกจำนวนเงิน / จำนวน Instrument ที่ขอเบิก 
116I02เบิก Instrument แต่ไม่มีรายการในบัญชี Instrument ที่จ่ายชดเชยได้ 
117I03เบิก Instrument แต่ไม่มีการทำหัตถการ ( ICD-9CM ) 
118I04ICD-10 / ICD-9CM  ไม่สัมพันธ์กับรายการ Instrument  ที่ขอเบิก 
119I05ตรวจสอบจำนวน/รายการ Instrument ที่ขอเบิก 
120I06เบิก Instrument ที่ใช้ในการทำหัตถการ PCI (หัตถการรักษาโรคหลอดเลือดโคโรนารีผ่านสายสวน (Percutaneous Coronary Intervention: PCI) ไม่มีรหัส ICD9 หรือ รหัส ICD9 ไม่สัมพันธ์กับรายการ Instrument ที่ขอเบิก 
121I07รายการ Instrument ที่ขอเบิกไม่ตรงตามข้อบ่งชี้ 
122I08เบิก Instrument ที่ใช้ในการทำหัตถการ PCI (หัตถการรักษาโรคหลอดเลือดโคโรนารีผ่านสายสวน (Percutaneous Coronary Intervention: PCI) ไม่ใช่หน่วยบริการที่ขึ้นทะเบียนเป็นหน่วยบริการเฉพาะด้าน PCI 
123I10มีการเบิก stent ในระบบ VMI 
124I12เบิกฟันปลอม รหัส INST 9202-9205 ภายในระยะเวลาน้อยกว่า 5 ปี   
125I13เบิกรองเท้าเบาหวานมากกว่า 1 คู่/คน/ต่อปี 
126I15ไม่ได้บันทึกรหัสโครงการพิเศษ 
127I17ตรวจสอบอุปกรณ์เครื่องช่วยฟัง 
128I18เบิกอุปกรณ์เครื่องช่วยฟัง รหัส 2501, 2502 ไม่สัมพันธ์กับอายุ 
129I19บันทึกเบิกยา NED ผู้ป่วยนอก ไม่ระบุเหตุผลการใช้ยา EA-EF 
130I20การเบิกอุปกรณ์ 2006 และ 2007 เบิกมา 2 ชิ้น DRG ไม่อยู่ในกลุ่มที่กำหนดตรวจการเบิกรหัสอุปกรณ์ 2006 , 2007 อยู่ในกลุ่ม DRG 02110 หรือ 02112 หรือ 02114 หรือ 02120 หรือ 02124 หากยืนยันให้อุทธรณ์เป็นเอกสาร
131I21เบิกชุด PPE มากกว่าจำนวนที่กำหนดตรวจสอบการบันทึกเบิกจำนวนชุด PPE กรณียืนยันการใช้ตามจำนวนที่บันทึกเบิกอุทธรณ์เป็นรายๆ
132 I22เบิกอุปกรณ์เครื่องช่วยฟัง จำนวน 3 ขึ้นไป ภายในระยะเวลา 3 ปีหากยืนยันการเบิกจริง ขอให้ส่งเอกสารอุทธรณ์มาที่ สปสช.
133I23เบิกค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับกระบวนการ หรืออุปกรณ์อื่นเพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ มากกว่าจำนวนวันนอน และอัตราที่กำหนดตรวจสอบการบันทึกเบิกรหัส ‘045007 อัตรา 11,000 บาท/วันกรณี เบิกกรณี admit ไม่เกิน 15 วัน และอัตรา 22,000 บาท เบิกกรณี admit มากกว่า 15 วันขึ้นไป แก้ไขให้ถูกต้องแล้วส่งเข้ามาใหม่อีกครั้ง
134M06ตรวจสอบรหัส HCODE กรณีรักษาผู้ป่วยข้ามสังกัด SP หรือ SN บันทึกเป็นรหัส 5 หลัก 
135M12ตรวจสอบการจ่ายเงินชดเชยกรณีมาตรา 7 (เหตุสมควร) 
136M13ไม่เข้าเกณฑ์ตามข้อตกลงกรณีการรับส่งต่อ 
137M14การตรวจสอบกรณีการให้บริการรักษาข้ามเขต 
138M15การเบิกอุปกรณ์ 2006 และ 2007 เบิกมา 2 ชิ้น DRG ไม่อยู่ในกลุ่มที่กำหนดตรวจการเบิกรหัสอุปกรณ์ 2006 , 2007 อยู่ในกลุ่ม DRG 02110 หรือ 02112 หรือ 02114 หรือ 02120 หรือ 02124 หากยืนยันให้อุทธรณ์เป็นเอกสาร
139O01ถูกระงับการจ่ายโดยกรมบัญชีกลาง 
140O02กรณีผลการตรวจ Covid negative ไม่สามารถเบิกค่าห้อง negative pressure ได้ (ว 102)ตรวจสอบการให้รหัสโรค และการบันทึกผล Lab กรณี”ไม่มีการติดเชื้อ covid ไม่สามารถเบิกได้
141O03ตรวจคัดกรอง (Screening) Covid19 มากกว่า 3 ครั้งตรวจสอบการบันทึกข้อมูลเบิก กรณียืนยันการตรวจมากกว่า 3 ครั้ง ส่งเอกสารอุทธรณ์
142O04เบิกกรณี Home Isolation หรือ Community Isolation เป็นข้อมูล admit ก่อนวันที่ 18 มิ.ย. 64 หรือจำหน่ายก่อนวันที่ 28 มิ.ย. 64 ก่อนวันที่ สปสช.ประกาศหลักเกณฑ์การเบิกจ่ายตรวจสอบการบันทึกวันที่ admit หาก admit ก่อนวันที่ 18 มิ.ย. 64 หรือจำหน่ายก่อนวันที่ 28 มิ.ย. 64 ไม่สามารถเบิกค่าใช้จ่าย กรณี Home Isolation หรือ Community Isolation ได้
143O05เบิกรหัส  080001 (Chest X-ray) กรณี Home Isolation หรือ Community Isolation เป็นข้อมูลบริการก่อนวันที่ 28 มิ.ย. 64 ก่อนวันที่ สปสช.ประกาศหลักเกณฑ์การเบิกจ่ายตรวจสอบการบันทึกวันรับบริการหากรับบริการก่อนวันที่ 28 มิ.ย. 64 ไม่สามารถเบิกรหัส  080001 (Chest X-ray) กรณี Home Isolation หรือ Community Isolation ได้
144O06วัคซีนที่เบิกไม่เป็นไปตามโครงการภาครัฐการเบิกค่าฉีดวัคซีนสามารถเบิกได้เฉพาะรายการวัคซีนที่เป็นไปตามโครงการภาครัฐเท่านั้น
145O07ช่วงที่ admit ไม่อยู่หลักเกณฑ์การเบิกจ่ายจาก สปสช.ตรวจสอบข้อมูลวัน admit /discharge หาก admit ก่อนวันที่ 20 มิ.ย. 64 หรือ จำหน่ายก่อนวันที่ 1 ก.ค. 64 ไม่สามารถเบิกตามเงื่อนไข Home Isolation ได้
146O08เบิกค่าอุปกรณ์ทางการแพทย์ที่ใช้ในการติดตามอาการผู้ป่วยมากกว่า 1 ครั้ง/รายตรวจสอบการบันทึกข้อมูลรหัส 9301 สามารถเบิกได้ 1 ครั้ง/ราย เท่านั้น
147O09เบิกชุด PPE ไม่สัมพันธ์กับอาการของผู้ป่วย (เหลือง แดง)ตรวจสอบการบันทึกข้อมูลเบิกค่าชุด PPE หรือค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับกระบวนการ หรืออุปกรณ์อื่นเพื่อป้องกันการแพร่กระจายเชื้อ เบิกได้ไม่เกินวันนอน หรือวันที่ผู้ป่วย admit ตามอาการเหลือง/แดง แก้ไขให้ถูกต้องแล้วส่งเข้ามาใหม่อีกครั้ง
148O10ผ่านเงื่อนไขเหมาจ่าย กรณี HI/CI รอตรวจสอบข้อมูลเพิ่มเติมตรวจสอบรายละเอียดการอุทธรณ์ ผ่านหน้า Web-eClaim
149O11ไม่ผ่านเงื่อนไขการตรวจสอบการจ่าย กรณี HI/CIตรวจสอบรายละเอียดการอุทธรณ์ ผ่านหน้า Web-eClaim
150O12รอการตรวจสอบการจ่ายกรณี HI/CIตรวจสอบรายละเอียดการอุทธรณ์ ผ่านหน้า Web-eClaim
151P01วันที่ให้บริการอยู่ในช่วงที่รักษาเป็นผู้ป่วยในตรวจสอบวันที่รับบริการ แก้ไขมาให้ถูกต้อง แล้วส่งเข้ามาใหม่ กรณีอยู่ในช่วงเป็นผู้ป่วยในไม่สามารถเบิกรายการนี้ได้
152P02เสียชีวิตก่อนวันให้บริการตรวจสอบวันที่รับบริการแก้ไขมาให้ถูกต้อง แล้วส่งเข้ามาใหม่
153P03การเบิกกรณีบริการแพทย์แผนไทยรหัสโรค / รหัสหัตถการไม่สอบคล้องกับกิจกรรมตรวจสอบรายการบริการ และรหัสโรคกรณีให้บริการแพทย์แผนไทย แก้ไขให้สอดคล้องตามที่กำหนดแล้วส่งเข้ามาใหม่
154P04กิจกรรมนวด ประคบ อบสมุนไพร ซ้ำกับกรณีรับบริการแม่หลังคลอดแก้ไขรายการเบิก กรณีเบิกรายการบริการ (Fee Schedule) กิจกรรมนวด ประคบ อบสมุนไพร แล้วไม่สามารถเบิกหัตถการที่ให้บริการมารดาหลังคลอดได้อีก
155P05รับบริการฟืนฟูสมรรถภาพมารดาหลังคลอดเกิน 5 ครั้ง ภายใน 3 เดือนตรวจสอบการบันทึกเบิกกรณีให้บิการมารดาหลังคลอด สามารถเบิกได้ 5 ครั้ง/ปีงบประมาณ/PID เท่านั้น กรณีเบิกครบแล้วให้ตัดหัตถการที่ให้บริการมารดาหลังคลอดออก เพื่อรับค่าใช้จ่ายกรณีอื่นๆ
156P06รับบริการฟืนฟูสมรรถภาพมารดาหลังคลอดไม่ครบ 5 กิจกรรมด/Visitตรวจสอบบันทึกหัตถการที่ให้บริการมารดาหลังคลอด ต้องบันทึกให้ครบทั้ง 5 รหัสตามเงื่อนไขที่กำหนดแล้วส่งเข้ามาใหม่
157P07การเบิกกรณีใช้ยาจากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาติรหัสโรค / รหัสหัตถการไม่สอบคล้องกับกิจกรรมตรวจสอบรายการบริการ และรหัสโรคกรณีใช้ยาจากสมุนไพรในบัญชียาหลักแห่งชาติ แก้ไขให้สอดคล้องตามที่กำหนดแล้วส่งเข้ามาใหม่
158P08กรณีใช้ยาจากสมุนไพร ตรวจสอบได้เป็นยาสมุนไพรนอกบัญชียาหลักแห่งชาติตรวจสอบยาสมุนไพรที่ใช้หากไม่ตรงกับรายการที่กรมการแพทย์แผนไทยฯ รับรอง ไม่สามารถเบิกได้
159P09เบิกค่าบริการอื่นๆร่วมกับค่าบริการเยี่ยมบ้านตรวจสอบการบันทึกข้อมูลเบิก บันทึกเบิกมาเฉพาะรายการเยี่ยมบ้านเท่านั้น แก้ไขแล้วส่งเข้ามาใหม่
160R01ข้อมูลถูกปฏิเสธการส่งต่อกรณี OP Referตรวจสอบรายละเอียดการปฏิเสธได้จากหน้าเวบ e claim เมนูรับส่งต่อผูป่วยนอกข้ามจังหวัด หัวข้อตรวจสอบสถานะฯ
161R02ผู้ป่วยนอกรับส่งต่อภายในจังหวัดไม่สามารถเบิกค่ารถรับส่งต่อได้ตรวจสอบสิทธิของผู้ป่วย กรณีผู้ป่วยนอกภายในจังหวัดไม่สามารถเบิกค่ารถรับส่งต่อจากส่วนกลางได้
162R03ไม่เป็นไปตามหลักเกณฑ์เงื่อนไขการ walk inทบทวนค่าใช้จ่าย บันทึกเบิกตามหลักเกณฑ์เงื่อนไขการ walk in ที่กำหนด
163S01ข้อมูลอุทธรณ์ไม่ผ่านการอนุมัติจากสำนักงานประกันสังคม 
164S02สิทธิประกันสังคมส่งเงินสมทบไม่ครบ 3 เดือน IP,OP (Z34003) เข้ารับบริการเจ็บป่วย ไม่รวมการตรวจครรภ์และการวางแผนครอบครัว 
165S03บันทึกข้อมูลเบิกไม่ตรงตามเงื่อนไขที่กำหนด (รพ.จุฬาภรณ์)ตรวจสอบการบันทึกรหัสโรคและรหัสหัตถการ แก้ไขให้ครบถ้วน ถูกต้องแล้วส่งเข้ามาอีกครั้ง กรณีทำหัตถการไม่ตรงตามเงื่อนไขที่ให้บันทึกผ่านโปรแกรมของ สปสช. ขอให้ส่งเบิกในระบบเดิม
166S04บันทึกรหัสโครงการพิเศษ สิทธิประกันสังคมส่งเงินสมทบไม่ครบ 3 เดือน (Z34003) สิทธิประกันสังคมส่งเงินสมทบไม่ครบ 7 เดือน (Z34007) ตรวจสอบได้สิทธิ UC 
167S06กรณีเด็กแรกเกิด (IP NB) และ OPAE หน่วยบริการบันทึกรหัสโครงการพิเศษไม่ตรงกับเงื่อนไขที่กำหนด 
168S07สิทธิประกันสังคมจำนวนเงินที่ขอเบิกตามรายการน้อยกว่า 100 บาท 
169S08สิทธิ SSS เบิกกรณีไตวายเฉียบพลัน ที่มีระยะเวลาการรักษาไม่เกิน 60 วัน ผู้ป่วยใน ที่มีค่า  Ad.jRW มากว่าหรือเท่ากับ  2   ไม่จ่ายค่า HD,PD  
170S09สิทธิ SSS เบิกค่ายาในการรักษาโรค Cryptococcal meningitis แต่จ่ายค่ารักษาพยาบาลครบ 15,000 บาท/ราย(ตลอดชีวิต) แล้ว 
171S10สิทธิ SSS เบิกค่าทำหมัน แต่จ่ายค่ารักษาพยาบาลครบแล้วคือ  กรณีการทำหมันชาย จ่ายตามจริงไม่เกิน 500 บาท/ราย (ตลอดชีวิต) และกรณีการทำหมันหญิง จ่ายตามจริงไม่เกิน 1,000 บาท/ราย (ตลอดชีวิต) 
172S11ไม่มีหัตถการ กรณีเบิกการทำหัตถการสวนหัวใจตรวจสอบการบันทึกรหัส ICD9 บันทึกมาให้ถูกต้อง ครบถ้วนแล้วส่งเข้ามาใหม่อีกครั้ง
Happy
0 0 %
Sad
0 0 %
Excited
0 0 %
Sleepy
0 0 %
Angry
0 0 %
Surprise
0 0 %

แนวทางเคลม HI CI วันที่7ม.ค.65

0 0
Read Time:1 Minute, 27 Second

การชี้แจงหลักเกณฑ์การจ่ายชดเชยค่าบริการรักษาผู้ป่วยโรคโควิด และการดูแลแบบ Home – Community Isolation ที่มีการเปลี่ยนแปลง ทางเฟซบุ๊กไลฟ์ https://www.facebook.com/NHSO.Thailand วันศุกร์ที่ 7มกราคม 2565 เวลา 13:00-16:00 น. วาระประกอบไปด้วย

  • กล่าวเปิดการประชุม โดย นายแพทย์จเด็จ ธรรมธัชอารี เลขาธิการ สปสช.
  • Update สถานการณ์การตรวจคัดกรองและการดูแลผู้ติดเชื้อโควิด 19 โดย ผู้แทนจากกระทรวงสาธารณสุข
  • หลักเกณฑ์การจ่ายชดเชยค่าบริการรักษาผู้ป่วยโรคโควิด 19 และการดูแลแบบ Home – Community Isolation ที่มีการเปลี่ยนแปลง โดย สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
  • แนวทางการจัดทำข้อมูลการเบิกจ่ายให้บริการ Home – Community Isolation เพื่อให้ได้รับการโอนเงินรวดเร็ว โดย สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
  • ส่งเบิกข้อมูลการบริการโควิดอย่างไรไม่ให้ข้อมูลติด C และแนวทางการแก้ไข โดย สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
  • การบันทึกบัญชีกรณีรับเงินค่าบริการสาธารณสุขสำหรับโรคโควิด 19 กรณี Home – Community Isolation และระบบรายงานการโอนเงินผ่าน HNSO Budget โดย สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
  • อภิปราย ซักถาม ปิดการประชุม
Happy
7 78 %
Sad
1 11 %
Excited
0 0 %
Sleepy
0 0 %
Angry
0 0 %
Surprise
1 11 %
Exit mobile version