ชี้แจงการดำเนินงาน ATK phase 2

0 0
Read Time:36 Second

กำหนดการชี้แจงโครงการ 24 ก.พ. 65
ㆍ 9.00 – 9.30 น. เลขาธิการ สปสช. กล่าวเปิดโครงการ
ㆍ 9.30 – 10.00 น. ชี้แจงโครงการ โดย นพ. อภิชาต รอดสม รองเลขาธิการสปสช.
ㆍ10.00 – 11.00 น. ขั้นตอนและแนวทาง การใช้ระบบสารสนเทศ ในการดำเนินโครงการ โดย ทีมงาน KTB
ㆍ11.00 – 12.00 น. ถามตอบปัญหา phase 1 และ 2 โดย พญ. กฤติยา ศรีประเสริฐ ที่ปรึกษา สปสช. /คุณ เบญจมาส เลลิศชาคร ผู้ช่วยเลขาธิการ สปสช. และทีมงานสายบริหารกองทุน/ ทีมงาน KTB /ภญ. สมฤทัย สุพรรณกูล สปสช.

เอกสารประกอบการประชุม

Happy
0 0 %
Sad
0 0 %
Excited
0 0 %
Sleepy
0 0 %
Angry
0 0 %
Surprise
0 0 %

ข้อควรปฏิบัติของผู้ป่วยโควิดเมื่อแยกกักตัวที่บ้าน

0 0
Read Time:8 Second
ข้อควรปฏิบัติของผู้ป่วยโควิดเมื่อแยกกักตัวที่บ้าน
ข้อควรปฏิบัติของผู้ป่วยโควิดเมื่อแยกกักตัวที่บ้าน
Happy
0 0 %
Sad
0 0 %
Excited
0 0 %
Sleepy
0 0 %
Angry
0 0 %
Surprise
0 0 %

การเบิกค่าใช้จ่ายกรณี COVID 19 และการแก้ไขข้อมูล วันที่3ก.พ.65

0 0
Read Time:1 Minute, 12 Second

ขอเชิญประชุมชี้แจงแนวทางการเบิกค่าใช้จ่ายกรณีบริการโรค COVID 19 และการแก้ไขซ้อมูลที่ไม่ผ่านการตรวจสอบ

เชิญเจ้าหน้าที่ผู้เกี่ยวข้อง เข้าร่วมประชุมรับฟังการชี้แจงแนวทางการเบิกค่าใช้จ่ายกรณีบริการโรค COVID 19 และการแก้ไขข้อมูลที่ไม่ผ่านการตรวจสอบในวันที่ 3 กุมภาพันธ์ 2565 เวลา 13.00-16.00 น. โดยประชุมผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ Zoom meeting และ ถ่ายทอดสดผ่าน Facebook live ของ สปสช. โดยผ่านลิงค์ http://www.facebook.com/NHSO.Thailand

กำหนดการแนวทางการเบิกค่าใช้จ่ายกรณีบริการโรค COVID 19 และการแก้ไขข้อมูลที่ไม่ผ่านการตรวจสอบ (หน่วยบริการภาครัฐ)

  • กล่าวเปิดประชุมโดย นายแพทย์การุณย์ คุณติรานนท์ ที่ปรึกษาสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
  • แนวทางและขั้นตอนการเบิกจ่ายกรณีบริการโรคโควิด 19 ข้อมูลไม่ผ่านการตรวจสอบหรือปฏิเสธการจ่ายและแนวทางการแก้ไขข้อมูล (ข้อมูล C: cancel ,ข้อมูล D: deny) โดย ฝ่ายบริหารการจัดสรรและชดเชยค่าบริการ ฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศการเบิกจ่ายกองทุน
  • แนวทางแก้ไขข้อมูลที่ไม่ผ่านการ Verify (ข้อมูล V: verify) โดย ฝ่ายตรวจสอบการจ่ายชดเชยและคุณภาพบริการ
  • อภิปราย ซักถาม ปิดการประชุม
Happy
2 100 %
Sad
0 0 %
Excited
0 0 %
Sleepy
0 0 %
Angry
0 0 %
Surprise
0 0 %

เอกสารประกอบการประชุมการใช้ระบบ A-MED ในการดูแลแบบ HI

0 0
Read Time:1 Minute, 28 Second

เอกสารประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการการใช้ระบบ A-MED ในการดูแลแบบผู้ป่วยโควิดใน Home Isolation จากการประชุม เมื่อวันที่ 17 ม.ค. 2565 ผ่านวีดีโอคอนเฟอเรนซ์ ไปยังหน่วยบริการในจังหวัดขอนแก่นทุกแห่ง

วันที่ 17 มกราคม 2565 เวลา13.30 -16.30 น. นายแพทย์ภาคี ทรัพย์พิพัฒน์ นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดขอนแก่น เป็นประธานการประชุมเชิงปฏิบัติการการใช้โปรแกรม Home Isolation. By A-MED โดยนายแพทย์วิโรจน์ เลิศพงศ์พิพัฒน์ ประธานCMจังหวัดฯ ร่วมประชุม ทั้งนี้คณะวิทยากร ผู้บริหาร ผู้เกี่ยวข้องร่วมonline ผ่านWebex วัตถุประสงค์เพื่อให้หน่วยบริการนำใช้ติดตามดูแลรักษาโควิด-19 ที่แยกกักตัวที่บ้านและชุมชน(HI CI) นำข้อมูลมาวางแผน จัดการทรัพยากร รายงานการรักษาใช้เป็นหลักฐานเบิกจ่าย สป.สช ได้และสสจ.ขก สามารถติดตามสถานการณ์ รายโรงพยาบาลได้ การนี้มีโรงพยาบาลในสังกัด นอกสังกัด สมัครเข้าใช้ A-MED จำนวน 25 แห่ง สรุปให้หน่วยบริการทำความเข้าใจplatfrom เครื่องมือ และนำไปใช้ จริง ข้อตกลงว่าCUP ละ 1 admin แล้วให้แต่ละที่ออกแบบทีม บทบาทหน้าที่ ขั้นตอนให้บริการ การออกรายงานตามในส่วนที่เพิ่มเติมให้ต่อไป

Happy
0 0 %
Sad
0 0 %
Excited
0 0 %
Sleepy
0 0 %
Angry
0 0 %
Surprise
0 0 %

การขอรับค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาแบบ Home Isolation และ Community Isolation สำหรับผู้ไร้สิทธิ

0 0
Read Time:1 Minute, 19 Second

ตามหนังสือที่ ขก ขก0032/ว 1916 ลงวันที่ 22 พฤศจิกายน 2564 เรื่อง การขอรับค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาแบบ Home Isolation และการแยกกักในชุมชน Community Isolation สำหรับผู้ไร้สิทธิค่ารักษาพยาบาลโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือ โรคโควิด 19

ด้วยสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ได้แจ้งการขอรับค่าใช้จ่ายในการดูแลรักษาแบบHome Isolation และการแยกกักในชุมชน Community Isolation สำหรับผู้ไร้สิทธิเบิกค่ารักษาพยาบาลโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือ โรคโควิด 19 ให้เป็นไปตามประกาศกระทรวงสาธารณสุข เรื่อง หลักเกณฑ์วิธีการ และเงื่อนไขการกำหนดค่าใช้จ่ายในการดำเนินการผู้ป่วยฉุกเฉินโรคติดต่ออันตรายตามกฎหมายว่าด้วยโรคติดต่อ กรณีโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือ โรคโควิด 19 (ฉบับที่ ๕) โดยผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาตั้งแต่วันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๖๔ และจำหน่ายภายในวันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๖๔ ให้เป็นไปตามหนังสือสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ด่วนที่สุด ที่ สธ 0๒๑๐.๐๕/ว๓๐๐๐ ลงวันที่ ๒๐ กรกฎาคม ๒๕๖๔ เรื่องแนวปฏิบัติในการขอรับค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลผู้ป่วยไร้สิทธิเบิกค่ารักษาพยาบาลโรคโควิด 19 ทั้งนี้ผู้ป่วยที่รับการรักษาแบบ Home Isolation และการแยกกักในชุมชน Community Isolation ที่จำหน่ายตั้งแต่วันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๖๔ เป็นต้นไป ขอให้รวบรวมเอกสารที่เกี่ยวข้องไว้สำหรับรอการเบิกจ่ายจากงบประมาณ พ.ศ.๒๕๖๕ ซึ่งอยู่ระหว่างจัดทำคำขอรับงบประมาณ หากได้รับงบประมาณสนับสนุนแล้ว สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขจะแจ้งให้ทราบต่อไป รายละเอียดตามสิ่งที่ส่งมาด้วย

Happy
0 0 %
Sad
0 0 %
Excited
0 0 %
Sleepy
0 0 %
Angry
0 0 %
Surprise
0 0 %

แนวทางการจัดการ HI

0 0
Read Time:22 Second

HOME ISOLATION : HI หรือ การแยกรักษาตัวที่บ้าน

โดย หมอสมศักดิ์ เทียมเก่าอายุรแพทย์ระบบประสาท ที่มา : กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข

HOME ISOLATION : HI หรือ การแยกรักษาตัวที่บ้าน
HOME ISOLATION : HI หรือ การแยกรักษาตัวที่บ้าน
HOME ISOLATION : HI หรือ การแยกรักษาตัวที่บ้าน
HOME ISOLATION : HI หรือ การแยกรักษาตัวที่บ้าน
HOME ISOLATION : HI หรือ การแยกรักษาตัวที่บ้าน
Happy
0 0 %
Sad
0 0 %
Excited
0 0 %
Sleepy
0 0 %
Angry
0 0 %
Surprise
0 0 %

กรณีการเบิกค่ารักษาโควิด-19ในรพ.เอกชน

0 0
Read Time:57 Second

เป็นการแก้ไขเพิ่มเติมหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการกำหนดค่าใช้จ่ายในการดำเนินการผู้ป่วยฉุกเฉินโรคติดต่ออันตรายตามกฎหมายว่าด้วยโรคติดต่อ กรณีโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 (Coronavirus Disease 2019 (COVID-19)) และที่แก้ไขเพิ่มเติม เพื่อเป็นการแก้ไขปัญหาในการบริหารจัดการเตียง โดยให้ครอบคลุมถึงกรณีสถานพยาบาลที่ให้การดูแลรักษาผู้ป่วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 Coronavirus Disease 2019 (COVID-19)) ณ ที่พำนักของผู้ป่วย ตามกฎหมายว่าด้วยสถานพยาบาลเพื่อการแก้ไขอัตราค่าใช้จ่ายบางรายการที่ไม่สอดคล้องกับสภาวการณ์ปัจจุบัน ตลอดจนเพื่อเพิ่มรายการที่มีความจำเป็นต้องใช้กับผู้ป่วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 (Coronavirus Disease 2019 (COVID-19)) ทั้งนี้ เพื่อการดูแลรักษาพยาบาลและเพื่อการช่วยชีวิตผู้ป่วยโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 (Coronavirus Disease 2019 (COVID-19)) ได้อย่างทันท่วงที

Happy
0 0 %
Sad
0 0 %
Excited
0 0 %
Sleepy
0 0 %
Angry
0 0 %
Surprise
0 0 %

ค่าบริการฉีดวัคซีนป้องกันโรค COVID19

0 0
Read Time:36 Second

แจ้งแนวทางการจัดสรรเงินค่าบริการสาธารณสุข กรณีโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ปีงบประมาณ 2565 จังหวัดขอนแก่น

  • ๑. ค่าบริการฉีดวัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หลังหักต้นทุนในการดำเนินการร้อยละ 40 ส่วนที่เหลือจัดสรรให้โรงพยาบาล และเครือข่ายหน่วยบริการในอัตรา 50 : 50
  • ๒. ค่าบริการเก็บสิ่งส่งตรวจหาเชื้อ COVID-19 ให้บริหารจัดการโดย CUP เนื่องจากแต่ละ CUP มีการบริหารจัดการแตกต่างกัน โดยขอให้ส่งแนวทางและผลการจัดสรรให้จังหวัดทราบด้วย
  • ๓. ค่ากระจายชุดตรวจ ATK Home Use อัตรา 10 บาพ/ชุด จัดสรรให้โรงพยาบาล/โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลที่ดำเนินการกระจายชุดตรวจให้กับประชาชนกลุ่มเสี่ยงโดยตรง
Happy
1 50 %
Sad
0 0 %
Excited
0 0 %
Sleepy
0 0 %
Angry
0 0 %
Surprise
1 50 %

CPG COVID-19 อัพเดต2พ.ย.64

0 0
Read Time:1 Minute, 17 Second

แนวทางเวชปฏิบัติการวินิจฉัย ดูแลรักษาและป้องกันการติดเชื้อในโรงพยาบาลกรณีโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) สําหรับแพทย์และบุคลากรสาธารณสุข ฉบับปรับปรุง ครั้งที่ 19 วันที่ 2 พฤศจิกายน 2564

โดยความร่วมมือของคณาจารย์ ผู้ทรงคุณวุฒิจากหน่วยงานต่าง ๆ และผู้แทนทีมแพทย์ที่ปฏิบัติหน้างานในการดูแลรักษาผู้ป่วยโควิด ได้ทบทวนและปรับแนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วย ตามข้อมูลวิชาการในประเทศ และต่างประเทศ
การปรับแนวทางเวชปฏิบัติฯ ฉบับนี้ มีประเด็นต่าง ๆ ดังนี้

  1. เพิ่มรายละเอียดคำแนะนำเกี่ยวกับการตรวจวินิจฉัยด้วย antigen test kit (ATK)
  2. ตัด lopinavir/ritonavir ออกจากรายการยาที่แนะนำให้ใช้
  3. ปรับข้อบ่งชี้การใช้ remdesivir ให้ใกล้เคียงกับคำแนะนำของ the United States National Institute of Health (NIH) และ Infectious Disease Society of America (IDSA)
  4. เพิ่มรายละเอียดคำแนะนำการใช้ยาต้านไวรัสในหญิงตั้งครรภ์
  5. เพิ่มการให้ IVIG ในผู้ป่วย กรณี MIS-C
  6. ลดระยะเวลาการกักตัว (isolation) ลงจาก 14 วัน และ 21 วัน สำหรับผู้ป่วยทั่วไป และผู้ป่วยที่มีภูมิคุ้มกันต่ำหรือเป็นผู้ป่วยโควิด-19 ที่มีภาวะแทรกซ้อนรุนแรง ลงเหลือ 10 วัน และ 20 วันตามลำดับ รวมทั้งน้นเรื่องการไม่ตรวจหาเชื้อด้วยวิธีการใด ๆ ซ้ำอีกในระยะเวลาสามเดือนหลังจากได้รับการวินิจฉัย
  7. แนะนำให้ทำการวิจัยโดยใช้ระเบียบวิธีวิจัยที่ได้มาตรฐาน สำหรับยาที่ยังไม่มีผลการวิจัยสนับสนุนว่ามีประสิทธิภาพในการรักษาโควิด-19
Happy
0 0 %
Sad
0 0 %
Excited
0 0 %
Sleepy
0 0 %
Angry
0 0 %
Surprise
0 0 %

รวมแนวทางการเบิกจ่ายCovid อัพเดต

0 0
Read Time:7 Minute, 7 Second

แนวทางการขอรับค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข สำหรับกรณีโรคติดเชื้อโคโรนา 2019 ปีงบประมาณ 2565 อัพเดตวันที่ 1 เมษายน 2565

ลำดับเลขที่หนังสือเรื่อง
1สปสช.2.57/ว.2014
23 มีนาคม 2564
แนวทางขอรับค่าใช้จ่าย เพื่อบริการสาธารณสุข สำหรับกรณีโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 (ฉบับแก้ไขและเพิ่มเติม)
2 สปสช.2.57/ว.2583
23 เมษายน 2654
ขอความร่วมมือในการบริการผู้มีสิทธิในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ในช่วงการแพร่ระบาด COVID-19
1) การขยายอายุของหนังสือส่งต่อผู้มีสิทธิทั้งกรณีผู้ป่วย และผู้ป่วยใน
2) พิจารณาการจัดบริการด้านยา และเวชภัณฑ์ โดยจัดส่งยา และเวชภัณฑ์ทางไปรษณีย์
3สปสช.2.57/ว.2679
3 พฤษภาคม 2564
แนวทางปฏิบัติการขอรับค่าใช้จ่าย(เพิ่มเติม) สำหรับการกักกันโรคกรณีผู้สัมผัสใกล้ชิดเสี่ยงสูง ตามที่หน่วยบริการจัดให้ ซักซ้อมความเข้าใจแนวทางปฏิบัติการขอรับค่าใช้จ่ายบริการสาธารณสุขฯ กรณีค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับกระบวนการ หรืออุปกรณ์อื่นเพื่อป้องกันการแพร่เชื้อในบริการผู้ป่วยใน
4สปสช.2.57/ว.2760
6 พฤษภาคม 2564
การปรับอัตราการจ่ายค่าตรวจเชื้อไวรัส Antigen
1) การตรวจเชิงรุกนอกสถานบริการ หรือนอกสถานที่ของหน่วยบริการภาครัฐ ภาคเอกชน และสถานบริการอื่น
2) การตรวจในหน่วยบริการภาครัฐ ภาคเอกชน และสถานบริการอื่น
5สปสช.2.57/ว.2841
13 พฤษภาคม 2564
ซักซ้อมความเข้าใจการบันทึกข้อมูลการขอรับค่าใช้จ่าย กรณีการตรวจคัดกรอง COVID-19 สำหรับสถานบริการเอกชน
6สปสช.2.57/ว.3004
21 พฤษภาคม 2564
ซักซ้อมความเข้าใจกรณีรับผู้ป่วยโควิด-19 ไว้ในโรงพยาบาล/โรงพยาบาลสนาม/Hospitel จากการตรวจคัดกรองเพื่อค้นหาผู้ติดเชื้อเชิงรุก (Active Case finding) สำหรับผู้มีสิทธิในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
7สปสช.2.57/ว.3876
28 มิถุนายน 2564
แนวทางปฏิบัติการขอรับค่าใช้จ่ายบริการสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2564 (เพิ่มเติม) การดูแลรักษาในที่พักระหว่างรอเข้ารับการรักษาแบบผู้ป่วยในโรงพยาบาล (HI)และการดูแลรักษาในโรงพยาบาลสนาม สำหรับคนในชุมชน (CI)
8สปสช.2.57/ว.4035
2 กรกฎาคม 2564      
ซักซ้อมความเข้าใจแนวทาง COVID -19 กรณีค่าพาหนะการรับ-ส่งต่อผู้ป่วยกลับภูมิลำเนา
9สปสช.2.57/ว.4168
7 กรกฎาคม 2564  
บริการตรวจหาเชื้อโรคโควิด -19 ผู้ให้กับประชาชนไทยทุกคนเข้ารับการกักกันใน Alternative Quarantine (AQ) 
10สปสช.6.70/ว.4320
9 กรกฎาคม 2564                                
แนวทางปฏิบัติในการขอรับค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข (เพิ่มเติม) ค่าบริการฉีดวัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ค่าบริการกรณีเกิดอาการไม่พึงประสงค์จากการฉีดวัคซีนค่ายาสารสกัดจากฟ้าทะลายโจร และยาจากผงฟ้าทะลายโจร  
11สปสช.6.70/ว.4322
11 กรกฎาคม 2564
แนวทางปฏิบัติการขอรับค่าใช้จ่ายบริการสาธารณสุข กรณีโรคติดเชื้อโควิด-19
1) การตรวจคัดกรองวิธี Antigen Test kit (ATK)
2) การดูแลแบบ HI และ CI ลักษณะบริการแบบผู้ป่วยนอก
12สปสช.6.70/ว.4608
22 กรกฎาคม 2564
ซักซ้อมความเข้าใจการขอรับค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุขสำหรับโรคติดเชื้อโควิด-19
1) กรณีดูแลใน HI/CI การขอ Authen และการส่งข้อมูลใน e-claim 2) แจ้งการปรับปรุงราคา RT-PCR,  Antigen , ค่าบริการดูแลผู้สัมผัสเสี่ยงสูง และค่าพาหนะรับส่งต่อโดยใช้รถโดยสารขนาดใหญ่
13สปสช.6.70/ว.4615
23 กรกฎาคม 2564
ปรับวิธีการจ่ายชดเชยค่าบริการสาธารณสุขสำหรับผู้ติดเชื้อโควิด-19 กรณีดูแลใน HI/CI ในงวดแรกแบบเหมาจ่าย 3,000 บาท เมื่อหน่วยบริการ Authencode
14สปสช.6.70/ว.4759
27 กรกฎาคม 2564
ซักซ้อมการตรวจคัดกรอง COVID-19 โดยใช้ ATK
15สปสช.6.70/ว.4760
27 กรกฎาคม 2564
การรับดูแลรักษาแบบ HI ผ่านระบบ PI Portal ของหน่วยบริการในพื้นที่ สปสช.เขต 13
16สปสช.6.70/ว.16689   
6 สิงหาคม 2564
แนวทางการขอรับค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข สำหรับกรณีโรคโควิด-19 ปีงบประมาณ พ.ศ.2564 เพิ่มเติม
1) ปรับแนวทางการตรวจคัดกรองโรคโควิด-19 2) หลักเกณฑ์ เงื่อนไขการขอรับค่าใช้จ่ายฯ โควิด-19 เพิ่มเติม    ค่าออกซิเจน ค่าป้องกันการแพร่เชื้อการจัดการศพ ค่าห้อง ค่า PPEหรืออุปกรณ์ป้องกันฯ วิธีการขอรับค่าใช้จ่ายฯ HI/CI  
17สปสช.6.70/ว.5305 
23 สิงหาคม 2564
แจ้งปรับอัตราการจ่ายค่าดูแลการให้บริการผู้ป่วยโควิด 19 สำหรับการดูแบรักษาแบบ HI/CI ค่าดูแลการให้บริการผู้ป่วย สำหรับค่าติดตามประเมินอาการ ให้คำปรึกษา ค่ายาพื้นฐาน  จ่ายแบบเหมาจ่ายในอัตรา 600 บาทต่อวัน (ไม่รวมค่าอาหาร 3 มื้อ) จำนวนไม่เกิน 14 วันค่าดูแลการให้บริการผู้ป่วย สำหรับค่าติดตามประเมินอาการ ให้คำปรึกษา ค่ายาพื้นฐาน รวมค่าอาหาร 3 มื้อ  จ่ายแบบเหมาจ่ายในอัตรา 1,000 บาทต่อวัน จำนวนไม่เกิน 14 วัน   
18สปสช.6.70/ว.5731 ลว
8 กันยายน 2564
ขอความร่วมมือในการบริการผู้มีสิทธิในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ในช่วงการแพร่ระบาด COVID-19 1) การขยายอายุของหนังสือส่งต่อผู้มีสิทธิทั้งกรณีผู้ป่วย และผู้ป่วยใน 2) พิจารณาการจัดบริการด้านยา และเวชภัณฑ์ โดยจัดส่งยา และเวชภัณฑ์ทางไปรษณีย์
19สปสช.6.70/ว.6006ลว
20 กันยายน 2564
แจ้งหลักเกณฑ์ การจ่ายชุดตรวจ ATK สำหรับประชาชนตรวจเอง
20สปสช.6.70/ว.6597 ลว
18 ตุลาคม 2564
แจ้งการโอนเงินล่าช้า เนื่องจากรองบประมาณ
21สปสช.6.70/ว.6857 ลว
1 พฤศจิกายน 2564
การขยายเวลา Authen กรณี HI-CI เป็น 5 วัน
22สปสช.6.70/ว.7151 ลว
11 พฤศจิกายน 2564
แจ้งซักซ้อมการให้บริการผู้ป่วยโควิด 19     ลดระยะเวลาการกักตัว (isolation) ลงจาก 14 และ 21 วัน สำหรับผู้ป่วยทั่วไป และผู้ป่วยที่มีภูมิคุ้มกันต่ำหรือเป็นผู้ป่วยโควิด 19 ที่มีภาวะแทรกซ้อนรุนแรง ลงเหลือ 10 วันและ 20 วันตามลำดับ
23สปสช  6.70 / ว.7625 
29 พฤศจิกายน 2564                                  
แจ้งปรับปรุงหลักเกณฑ์ เงื่อนไข และอัตราจ่ายการให้บริการโรคโควิด 19 ในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ พ.ศ.2565
24 สปสช. 6.70 / ว.8383 27 ธันวาคม 2564แจ้งหลักเกณฑ์และซักซ้อมแนวทางการขอรับค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุขสิทธิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติปีงบประมาณ 2565 ที่มีการเปลี่ยนแปลง เพิ่มเติ
๑. หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขการจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข
กรณีประชาชนไปรับบริการในหน่วยบริการอื่นกรณีที่มีเหตุสมควรฯ
๒. หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขการจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข
กรณีการคัดกรองธาลัสซีเมียและการคัดกรองซิฟิลิสในสามีหรือคู่ของหญิงตั้งครรภ์
๓. รายการโรคและหัตถการ สำหรับบริการ ODS, MIS (เพิ่มเติมรายการ)
๔. รายการเบิกจ่ายที่ขอ Authentication code (ปรับแก้ไข)
25สปสช. 6.70 / ว.8344
24 ธันวาคม 2564
ขอความร่วมมือในการบริการผู้มีสิทธิในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ในช่วงการแพร่ระบาดโรคโควิด 19
Happy
3 75 %
Sad
0 0 %
Excited
0 0 %
Sleepy
0 0 %
Angry
0 0 %
Surprise
1 25 %
Exit mobile version