ประชุมสรุปตรวจราชการปีงบ2564 รอบที่ 2

0 0
Read Time:1 Minute, 25 Second

การประชุมสรุปผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2564 รอบที่ 2 ผ่าน Application CiscoWebX วันที่ 14 กันยายน 2564 เวลา 09.00 – 14.00 น. ณ ห้องประชุมชัยนาทนเรนทร อาคาร 1 ชั้น 2 สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข

  • ผลการตรวจราชการประเด็นที่ 1 โครงการราชทัณฑ์ ปันสุข ทำความดี เพื่อชาติ ศาสน์ กษัตริย์ โดย แพทย์หญิงวิพรรณ สังคหะพงศ์ ผู้ตรวจราชการกระทรวง เขตสุขภาพที่ 3 ประธานคณะกรรมการกำหนดประเด็นและติดตามผลการตรวจราชการประเด็นที่ 1
  • ผลการตรวจราชการประเด็นที่ 2 กัญชาทางการแพทย์และสมุนไพรเพื่อเศรษฐกิจ โดย นายแพทย์พงศ์เกษม ไข่มุกด์ ผู้ตรวจราชการกระทรวง เขตสุขภาพที่ 9 ประธานคณะกรรมการกำหนดประเด็นและติดตามผลการตรวจราชการประเด็นที่ 2
  • ผลการตรวจราชการประเด็นที่ 3 ระบบสุขภาพปฐมภูมิ โดย นายแพทย์สุเทพ เพชรมาก ผู้ตรวจราชการกระทรวง เขตสุขภาพที่ 12 ประธานคณะกรรมการกำหนดประเด็นและติดตามผลการตรวจราชการประเด็นที่ 3
  • ผลการตรวจราชการประเด็นที่ 4 สุขภาพกลุ่มวัย สุขภาพจิต โดย นายแพทย์ทวีศิลป์ วิษณุโยธิน ผู้ตรวจราชการกระทรวง เขตสุขภาพที่ 10 ประธานคณะกรรมการกำหนดประเด็นและติดตามผลการตรวจราชการประเด็นที่ 4
  • ผลการตรวจราชการประเด็นที่ 5 ลดแออัด ลดรอคอย ลดป่วย ลดตาย โดย นายแพทย์พิทักษ์พล บุณยมาลิก ผู้ตรวจราชการกระทรวง เขตสุขภาพที่ 11 ประธานคณะกรรมการกำหนดประเด็นและติดตามผลการตรวจราชการประเด็นที่ 5
  • ผลการตรวจราชการประเด็นที่ 6 ระบบธรรมาภิบาล โดย นายแพทย์ภาณุมาศ ญาณเวทย์สกุล ผู้ตรวจราชการกระทรวง เขตสุขภาพที่ 2 ประธานคณะกรรมการกำหนดประเด็นและติดตามผลการตรวจราชการประเด็นที่ 6
  • ผลการตรวจราชการประเด็นที่ 7 การตรวจราชการแบบบูรณาการ โดย นายแพทย์ธงชัย เลิศวิไลรัตนพงศ์ ผู้ตรวจราชการกระทรวง เขตสุขภาพที่ 1 หัวหน้าผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประธานคณะกรรมการกำหนดประเด็นและติดตามผลการตรวจราชการประเด็นที่ 7
  • ผลการตรวจราชการประเด็น Area based และประเด็นนวัตกรรมการจัดการบริการสุขภาพ (Innovative Healthcare Management) เขตสุขภาพที่ 1-12 โดย ผู้อำนวยการกองตรวจราชการ
  • แนวทางการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2565 โดย นายแพทย์ธงชัย เลิศวิไลรัตนพงศ์ ผู้ตรวจราชการกระทรวง เขตสุขภาพที่ 1 หัวหน้าผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข

เอกสารประกอบการประชุม

http://planfda.fda.moph.go.th/newplan/meetrh1/training_description.php?agenda_description=93

Happy
0 0 %
Sad
0 0 %
Excited
0 0 %
Sleepy
0 0 %
Angry
0 0 %
Surprise
0 0 %

ประชุมCFOครั้งที่2/2564

0 0
Read Time:1 Minute, 37 Second

การประชุมประชุมคณะกรรมการพัฒนาระบบการเงินการคลัง
(Chief Financial Officer : CFO) หน่วยบริการสุขภาพ จังหวัดขอนแก่น
ครั้งที่ 2/2564 วันที่ 9 กันยายน 2564 เวลา 13.30-16.30 น.
ณ ห้องประชุมก่องข้าว ชั้น 3 อาคารใหม่ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดขอนแก่น

  • ระเบียบวาระที่ ๑ เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ 
    • ด้วย คณะกรรมการ CFO เขตสุขภาพที่ 7 ได้แจ้งการจัดสรรงบกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติปีงบประมาณ 2565 และสํานักงานสาธารณสุขจังหวัดขอนแก่น จะต้องดําเนินจัดสรรปรับเกลี่ยเงินดังกล่าวให้แก่หน่วยบริการในสังกัดให้แล้วเสร็จ และแจ้งผลการปรับเกลี่ยให้เขตสุขภาพดำเนินการภายในวันที่ 5 ตุลาคม 2564 รวมทั้งหารือการบริหารจัดการการเงินการคลังในส่วนที่เกี่ยวข้อง ได้แก่ เงินกัน Virtual account จังหวัดขอนแก่น เพื่อตามจ่ายแทน CUP กรณี ส่งต่อ อุบัติเหตุ/ฉุกเฉิน ในจังหวัด จึงเห็นควรจัดประชุม CFO จังหวัดขอนแก่น ขึ้นในวันนี้
  • ระเบียบวาระที่ ๒ รับรองรายงานการประชุม
    • สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดขอนแก่นได้สรุปรายงานการประชุมคณะกรรมการบริหารการเงินการคลัง (CFO) หน่วยบริการสุขภาพ จังหวัดขอนแก่น ครั้งที่ 2/2564 เมื่อวันที่ 25 มีนาคม 2564
  • ระเบียบวาระที่ ๓ เรื่องสืบเนื่อง
    •  3.1 …………………………………………………………………………………………………………………………………
    •  3.2 …………………………………………………………………………………………………………………………………
  • ระเบียบวาระที่ ๔ เรื่องเพื่อทราบ
    • 4.1 สรุปสถานการณ์การเงินการคลังหน่วยบริการในจังหวัดขอนแก่น ณ เดือนกรกฎาคม 2564
    • 4.2 แนวทางการบริหารกองทุน UC และการปรับเกลี่ยเงินกันบริหารระดับเขต/จังหวัด เขตสุขภาพที่ 7 ปีงบประมาณ 2565 และงบกองทุนอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
  • ระเบียบวาระที่ 5 เรื่องเพื่อพิจารณา
    • ­5.1  แนวทางการปรับเกลี่ยเงินกันบริหารระดับเขต/จังหวัด และงบกองทุนอื่นๆ ที่เกี่ยวข้องจังหวัดขอนแก่น ปีงบประมาณ 2565
    • 5.2  แนวทางการบริหารจัดการค่ายาที่โรงพยาบาลชุมชนสั่งซื้อยาจากโรงพยาบาลขอนแก่น

สรุปมติและข้อสั่งการจากการประชุม

ที่ลิงค์นี้
Happy
0 0 %
Sad
0 0 %
Excited
0 0 %
Sleepy
0 0 %
Angry
0 0 %
Surprise
0 0 %

รายงานสถานการณ์ทางการเงินจังหวัดขอนแก่น ณ มิถุนายน 2564

0 0
Read Time:1 Minute, 46 Second

นำเสนอคณะกรรมการวางแผนและประเมินผลด้านสาธารณสุข จังหวัดขอนแก่น

ประจำเดือนกรกฎาคม 2564

ภาพรวมวิกฤติทางการเงินในเขตสุขภาพที่ 7

ข้อมูลจากกองเศรษฐกิจสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ สป. สธ. ณ วันที่ 11 กรกฎาคม 2564 ประมวลผลโดยสำนักงานเขตสุขภาพที่ 7 พบว่าจังหวัดขอนแก่น ไม่มีหน่วยบริการที่อยู่ในวิกฤติระดับ 4-7 โดยข้อมูลรายแห่งตามตารางด้านล่าง

ข้อมูลวิเคราะห์วิกฤติทางการเงินระดับ 7 จังหวัดขอนแก่น*

*ข้อมูลจาก กองเศรษฐกิจสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ สป. สธ. ประมวลผลโดย กลุ่มงานประกันสุขภาพ สสจ.ขอนแก่น ณ วันที่ 19 กรกฎาคม 2564

การควบคุมกำกับแผนทางการเงิน จังหวัดขอนแก่น ปี 2564

ข้อมูลจากกองเศรษฐกิจสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ สป.สธ. (ข้อมูล ณ วันที่ 19 กรกฎาคม2564)
  • การควบคุมกำกับด้านรายได้ ณ สิ้นเดือนพฤษภาคม 2564 นี้ มีหน่วยบริการที่ผ่านเกณฑ์การควบคุมคือรายได้สูง/ต่ำกว่าแผนไม่เกินร้อยละ 5 จำนวน 16 รพ. คิดเป็น 61.54% ส่วนรายได้ต่ำกว่าแผนเกินกว่าร้อยละ5 มีจำนวน 2 แห่งได้แก่ รพ.อุบลรัตน์ และรพ.ภูเวียง โดยมีรายได้ต่ำกว่าแผนคิดเป็นร้อยละ 6.38 และ 5.93 ตามลำดับ
  • การควบคุมกำกับด้านค่าใช้จ่าย รพ.ที่มีการควบคุมค่าใช้จ่ายให้เป็นไปตามเกณฑ์ ไม่เกินบวกลบ5% มีจำนวน 19 แห่ง และ รพ.ที่มีค่าใช้จ่ายเกินเกณฑ์ จำนวน 7 แห่ง โดยทุกแห่งเป็นหน่วยบริการที่มีค่าใช้จ่ายน้อยกว่าแผนเกิน 5 % ยกเว้น รพ.ภูผาม่านที่มีค่าใช้จ่ายเกินแผนไปคิดเป็น 5.47 %

รายงานการโอนงบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติจังหวัดขอนแก่น ปี 2564

1.งบเหมาจ่ายรายหัว

2.งบกองทุนอื่นๆ

ที่มา : จากระบบรายงานการโอนเงิน ( NHSO Budget) สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ https://ucapps1.nhso.go.th/budgetreport/
ข้อมูล ณ วันที่ 29 กรกฎาคม  2564

คะแนนตรวจสอบงบทดลอง

สถานการณ์ทางการเงิน รพ.สต.ในจังหวัดขอนแก่น

*ข้อมูลจาก กองเศรษฐกิจสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ สป. สธ. ประมวลผลโดย กลุ่มงานประกันสุขภาพ สสจ.ขอนแก่น ณ วันที่ 19 กรกฎาคม 2564
Happy
0 0 %
Sad
0 0 %
Excited
0 0 %
Sleepy
0 0 %
Angry
0 0 %
Surprise
0 0 %

ซักซ้อมความเข้าใจในการจัดทำแผนเงินบำรุง

0 0
Read Time:51 Second

สืบเนื่อง จากผลการตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุขกรณีปกติ รอบที่ 1 ปีงบประมาณ 2564 เขตสุขภาพที่ 7 ประเด็นที่ 6 ระบบธรรมภิบาล การตรวจสอบภายในและระบบการเงินการคลัง มีประเด็นทักทวงเกี่ยวกับการจัดทำแผนเงินบำรุง คณะกรรมการ CFO เขตสุขภาพที่ 7 จึงมีมติเห็นควรให้กำหนดจัดประชุมซักซ้อมความเข้าใจในการจัดทำแผนเงินบำรุง ให้มีความเข้าใจในการจัดทำแผนเงินบำรุงอย่างถูกต้อง ซึ่งมีผู้เกี่ยวข้องในการดำเนินงานเข้าร่วมประชุมเมื่อ วันที่ 1 กรกฎาคม 2564 เวลา 14.00-16.30 น. โดยประชุมผ่านระบบ VDO Con. ด้วยระบบ Cisco Webex Meeting วาระประกอบไปด้วย

  • แจ้งวัตถุประสงค์ และข้อทักท้วงการจัดทำแผนเงินบำรุง โดย นางสาวชวัลลักษณ์ ทองบ่อ นักวิซาการตรวจสอบภายในปฏิบัติการ
  • แนวทางการจัดทำแผนเงินบำรุง โดย นายแพทย์ชุมพล นุชผ่อง รองผู้อำนวยการกองเศรษฐกิจสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
  • กระบวนการจัดทำแผนเงินบำรุงโรงพยาบาลขอนแก่น โดย นางธนิษฐา ศุภวิชย์ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ หวหน้ากลุ่มงานยุทธศาสตร์และแผนงานโครงการ โรงพยาบาลขอนแก่น
Happy
1 100 %
Sad
0 0 %
Excited
0 0 %
Sleepy
0 0 %
Angry
0 0 %
Surprise
0 0 %

รายงานสถานการณ์ทางการเงินจังหวัดขอนแก่น ณ พฤษภาคม 2564

0 0
Read Time:1 Minute, 37 Second

นำเสนอคณะกรรมการวางแผนและประเมินผลด้านสาธารณสุข จังหวัดขอนแก่น

ประจำเดือนพฤษภาคม 2564

ภาพรวมวิกฤติทางการเงินในเขตสุขภาพที่ 7

ข้อมูลจากกองเศรษฐกิจสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ สป. สธ. ณ วันที่ 12 มิถุนายน 2564 ประมวลผลโดยสำนักงานเขตสุขภาพที่ 7 พบว่าจังหวัดขอนแก่น ไม่มีหน่วยบริการที่อยู่ในวิกฤติระดับ 4-7 โดยข้อมูลรายแห่งตามตารางด้านล่าง

ข้อมูลวิเคราะห์วิกฤติทางการเงินระดับ 7 จังหวัดขอนแก่น*

*ข้อมูลจาก กองเศรษฐกิจสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ สป. สธ. ประมวลผลโดย กลุ่มงานประกันสุขภาพ สสจ.ขอนแก่น ณ วันที่ 28 มิถุนายน 2564

การควบคุมกำกับแผนทางการเงิน จังหวัดขอนแก่น ปี 2564

ข้อมูลจากกองเศรษฐกิจสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ สป.สธ. (ข้อมูล ณ วันที่ 27 มิถุนายน 2564)
  • การควบคุมกำกับด้านรายได้ ณ สิ้นเดือนพฤษภาคม 2564 นี้ มีหน่วยบริการที่ผ่านเกณฑ์การควบคุมคือรายได้สูง/ต่ำกว่าแผนไม่เกินร้อยละ 5 จำนวน 16 รพ. คิดเป็น 61.54% ส่วนรายได้ต่ำกว่าแผนเกินกว่าร้อยละ5 มีจำนวน 2 แห่งได้แก่ รพ.อุบลรัตน์ และรพ.ภูเวียง โดยมีรายได้ต่ำกว่าแผนคิดเป็นร้อยละ 6.38 และ 5.93 ตามลำดับ
  • การควบคุมกำกับด้านค่าใช้จ่าย รพ.ที่มีการควบคุมค่าใช้จ่ายให้เป็นไปตามเกณฑ์ ไม่เกินบวกลบ5% มีจำนวน 19 แห่ง และ รพ.ที่มีค่าใช้จ่ายเกินเกณฑ์ จำนวน 7 แห่ง โดยทุกแห่งเป็นหน่วยบริการที่มีค่าใช้จ่ายน้อยกว่าแผนเกิน 5 % ยกเว้น รพ.ภูผาม่านที่มีค่าใช้จ่ายเกินแผนไปคิดเป็น 5.47 %

รายงานการโอนงบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติจังหวัดขอนแก่น ปี 2564

1.งบเหมาจ่ายรายหัว

2.งบกองทุนอื่นๆ

ที่มา : จากระบบรายงานการโอนเงิน ( NHSO Budget) สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ https://ucapps1.nhso.go.th/budgetreport/
ข้อมูล ณ วันที่ 29 มิถุนายน 2564
Happy
0 0 %
Sad
0 0 %
Excited
0 0 %
Sleepy
0 0 %
Angry
0 0 %
Surprise
0 0 %

สถานการณ์การเงินภาพรวม หน่วยบริการในจังหวัดขอนแก่น ไตรมาส2 ปี 2564

0 0
Read Time:4 Second
จำนวนโรงพยาบาลตามระดับวิกฤติทางการเงินรายไตรมาส ปีงบประมาณ 2561ถึงปัจจุบัน
Happy
0 0 %
Sad
0 0 %
Excited
0 0 %
Sleepy
0 0 %
Angry
0 0 %
Surprise
0 0 %

Bright Spot Hospital 2564

0 0
Read Time:3 Minute, 52 Second

หลักเกณฑ์การพัฒนาประสิทธิภาพทางการเงินการคลัง สำหรับหน่วยบริการที่มีผลงานดีเด่น(Bright Spot Hospital) ประจำปีงบประมาณ 2564

หลักเกณฑ์และแนวทางการประเมิน :แบ่งระดับการประเมินตามระดับของหน่วยบริการตาม Service Plan

บประมาณ : จากเขตสุขภาพที่ 7 จำนวน 10 ล้านบาท

  • ระดับบริการ A 5 M1 (วงเงิน 2 ล้านบาท)
    • ลำดับที่ 1 จำนวน 1,000,000 บาท
    • ลำดับที่ 2 จำนวน 600,000 บาท
    • ลำดับที่ 3 จำนวน 400,000 บาท
  • ระดับบริการ M2 (วงเงิน 2 ล้านบาท)
    • ลำดับที่ 1 จำนวน 1,000,000 บาท
    • ลำดับที่ 2 จำนวน 600,000 บาท
    • ลำดับที่ 3 จำนวน 400,000 บาท
  • ระดับบริการ F1 F2 (วงเงิน 4 ล้านบาท)
    • ลำดับที่ 1 จำนวน 1,000,000 บาท
    • ลำดับที่ 2 จำนวน 800.000 บาท
    • ลำดับที่ 3 จำนวน 700,000 บาท
    • ลำตับที่ 4 จำนวน 500,000 บาท
    • ลำดับที่ 5 จำนวน 400,000 บาท
    • รางวัลชมเชย จำนวน 300,000 บาท จำนวน 2 รางวัล
  • ระดับบริการ F3 (วงเงิน 2 ล้านบาท)
    • ลำดับที่ 1 จำนวน 1,000,000 บาท
    • ลำดับที่ 2 จำนวน 600,000 บาท
    • ลำดับที่ 3 จำนวน 400,000 บาท

หลักเกณฑ์การประเมิน : กรอบในการประเมินมี 3 ด้าน ประกอบด้วย

  1. นโยบายของผู้บริหาร/แผนพัฒนา/นวัตกรรม/ซอฟต์แวร์   (20 คะแนน)
  2. กระบวนการในการดำเนินงาน (Process Indicator)   (55 คะแนน)
  3. ผลงานในการดำเนินงาน (Outcome Indicator)   (25 คะแนน)

สูตรการคำนวณ : คะแนนเต็ม 100 คะแนน โดย

คะแนนที่ได้ = (คะแนนที่ได้ในข้อ 1 + คะแนนที่ได้ในข้อ 2 + คะแนนที่ได้ในข้อ 3)
เกณฑ์การให้คะแนน : เมื่อคำนวณคะแนนที่ได้แล้ว จะนำมาเรียงลำดับคะแนนเพื่อมอบรางวัลต่อไป

วิธีการคัดเลือก : ให้แต่ละจังหวัดคัดเลือกหน่วยบริการ เพื่อเข้ารับการประเมินตามระดับของหน่วยบริการตาม Service Plan ดังนี้

  1. ระดับบริการ A S M1   ทุกแห่ง
  2. ระดับบริการ M2   จังหวัดละ 1 แห่ง
  3. ระดับบริการ F1 F2   จังหวัดละ 2 แห่ง
  4. ระดับบริการ F3   จังหวัดละ 1 แห่ง

โดยเสนอต่อคณะกรรมการพัฒนาระบบบริหารการเงินการคลัง (Chief Financial Officer. CFO) เขตสุขภาพที่ 7 ในเดือนมิถุนายน 2564 โดยให้หน่วยบริการนำเสนอข้อมูล แห่งละ 10 นาที และให้คณะกรรมการฯ ซักถามข้อมูลเพิ่มเติม แห่งละ 10 นาที

กรอบและรายละเอียดการประเมิน

1. นโยบายของผู้บริหาร/แผนพัฒนา/นวัตกรรม/ซอฟแวร์ 20 คะแนน

แหล่งข้อมูลคะแนน
แผนการดำเนินงานที่ระบุกิจกรรมเป้าหมายที่ชัดเจนทั้งด้านเพิ่มรายได้/ลดรายจ่าย เป็นรายกิจกรรม และมีแผนธุรกิจ(Business Plan)4 คะแนน
รายงานการประชุมคณะกรรมการ CFO อย่างน้อยไตรมาสละ 1 ครั้ง(ไตรมาส 4/63 – ไตรมาส 2/64) เนื้อหาต้องประกอบด้วยสถานการณ์การเงิน/ประเด็นที่เป็นปัญหา/แนวทางการแก้ไข/รายงานผลการแก้ปัญหาที่มีการติดตามในไตรมาสถัดๆไป เป็นระยะ 4 คะแนน
มีการใช้นวัตกรรม/ซอฟแวร์ ในการดำเนินงาน (มีการระบุกิจกรรม/เป้าหมาย/รายงานผลงานที่ชัดเจน) 4 คะแนน
การจัดซื้อจัดจ้างวัสดุวิทยาศาสตร์การแพทย์ 4 คะแนน
การจัดซื้อจัดจ้างเวชภัณฑ์ยา 4 คะแนน

2.กระบวนการในการดำเนินงาน (Process Indicator) 55 คะแนน (ใช้ข้อมูลเดือนพฤษภาคม 2564 ในการประเมินผล)

รายละเอียดการประเมินคะแนน
1. การบริหารแผน Planfin10 คะแนน
1.1 Planfin รายได้ +5 % ขึ้นไป5 คะแนน
1.2 Planfin ค่าใช้จ่าย ไม่เกิน + 5 %5 คะแนน
2. การบริหารต้นทุนบริการไม่เกินค่ากลางกลุ่มโรงพยาบาล20 คะแนน
2.1 Unit Cost OP (Mean+1SD)5 คะแนน
2.2 Unit Cost IP (Mean+1SD)5 คะแนน
2.3 LC ค่าแรงบุคลากร (Mean)2.5 คะแนน
2.4 MC ค่ายา (Mean) 2.5 คะแนน
2.5 MC ค่าเวชภัณฑ์มิใช่ยาและวัสดุการแพทย์ (Mean) 2.5 คะแนน
2.6 MC ค่าวัสดุวิทยาศาสตร์และการแพทย์ (Mean) 2.5 คะแนน
3. การบริหารจัดการบัญชีและการเงิน15 คะแนน
3.1 ระยะเวลาชำระเจ้าหนี้การค้ายาและเวชภัณฑ์มิใช่ยา3 คะแนน
3.2 ระยะเวลาถัวเฉลี่ยในการเรียกเก็บหนี้ สิทธิ UC3 คะแนน
3.3 ระยะเวลาถั่วเฉลี่ยในการเรียกเก็บหนี้ สิทธิ CS3 คะแนน
3.4 การบริหารสินค้าคงคลัง3 คะแนน
3.5 คะแนนตรวจบัญชีงบทดลองเบื้องต้น3 คะแนน
4. Productivity ที่ยอมรับได้10 คะแนน
4.1 อัตราครองเตียง  มากกว่าหรือเท่ากับ 80 % หรือเพิ่มขึ้น ร้อยละ 55 คะแนน
4.2 Sum of AdjRw เกินค่ากลางกลุ่ม รพ. หรือเพิ่มขึ้น ร้อยละ 55 คะแนน

3. ผลงานในการดำเนินงาน (Outcome Indicator)   25 คะแนน

รายละเอียดการประเมิน คะแนน
1. ประสิทธิภาพในการดำเนินงาน (Operation Margin) เกินค่ากลางกลุ่ม รพ. 5 คะแนน
2. อัตราผลตอบแทนจากสินทรัพย์ (Return on Asset) เกินค่ากลางกลุ่ม รพ. 5 คะแนน
3. เงินทุนสำรองสุทธิ (NWC)  เป็นบวก และเพิ่มขึ้น 5 คะแนน
4. ผลต่างรายได้และค่าใช้จ่าย (EBITDA) เป็นบวก และเพิ่มขึ้น 5 คะแนน
5.Cash Ratio เท่ากับหรือมากกว่า 0.8 5 คะแนน
Happy
0 0 %
Sad
0 0 %
Excited
0 0 %
Sleepy
0 0 %
Angry
0 0 %
Surprise
0 0 %

รายงานสถานการณ์ทางการเงินจังหวัดขอนแก่น ณ เมษายน 2564

0 0
Read Time:1 Minute, 49 Second

นำเสนอคณะกรรมการวางแผนและประเมินผลด้านสาธารณสุข จังหวัดขอนแก่น

ประจำเดือนพฤษภาคม 2564

ภาพรวมวิกฤติทางการเงินในเขตสุขภาพที่ 7

ข้อมูลจากกองเศรษฐกิจสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ สป. สธ. ณ วันที่ 16 เมษายน 2564 ประมวลผลโดยสำนักงานเขตสุขภาพที่ 7 พบว่าจังหวัดขอนแก่น ไม่มีหน่วยบริการที่อยู่ในวิกฤติระดับ 4-7 โดยข้อมูลรายแห่งตามตารางด้านล่าง

ข้อมูลวิเคราะห์วิกฤติทางการเงินระดับ 7 จังหวัดขอนแก่น*

*ข้อมูลจาก กองเศรษฐกิจสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ สป. สธ. ประมวลผลโดย กลุ่มงานประกันสุขภาพ สสจ.ขอนแก่น ณ วันที่ 21 เมษายน 2564
รายการคำย่อ
CR = Current Ratio 
QR = Quick Ratio 
Cash = Cash Ratio 
NWC = ทุนสำรองสุทธิ 
NI = รายได้สูง(ต่ำ)กว่าค่าใช้จ่ายสุทธิ 
LiI = Liquid Index	
StI = Status Index
SuI = Survival Index
RiskScroing = คะแนนความเสี่ยง
EBITDA = กำไรก่อนหักค่าเสื่อม
HMBRD = เงินคงเหลือหลังหักหนี้แล้ว

การควบคุมกำกับแผนทางการเงิน จังหวัดขอนแก่น ปี 2564

ข้อมูลจากกองเศรษฐกิจสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ สป.สธ. (ข้อมูล ณ วันที่ 21 พฤษภาคม 2564)

การควบคุมกำกับด้านรายได้

ณ สิ้นเดือนเมษายน 2564 นี้ มีหน่วยบริการที่ผ่านเกณฑ์การควบคุมคือรายได้สูง/ต่ำกว่าแผนไม่เกินร้อยละ 5 จำนวน 17 รพ. คิดเป็น 65.38% ส่วนรายได้ต่ำกว่าแผนเกินกว่าร้อยละ5 มีจำนวน 2 แห่งได้แก่ อุบลรัตน์ และโนนศิลา โดยมีรายได้ต่ำกว่าแผนคิดเป็นร้อยละ 6.41 และ 5.52 ตามลำดับ

การควบคุมกำกับด้านค่าใช้จ่าย

รพ.ที่มีการควบคุมค่าใช้จ่ายให้เป็นไปตามเกณฑ์ ไม่เกินบวกลบ5% มีจำนวน 21 แห่งเพิ่มขึ้นจาก20แห่งในเดือนที่แล้ว และ รพ.ที่มีค่าใช้จ่ายเกินเกณฑ์ จำนวน 5 แห่ง โดยทุกแห่งเป็นหน่วยบริการที่มีค่าใช้จ่ายน้อยกว่าแผนเกิน 5 %

รายงานการโอนงบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติจังหวัดขอนแก่น ปี 2564

รายงานการโอนงบเหมาจ่ายรายหัว
รายงานการโอนงบกองทุนอื่นๆ
ที่มา : จากระบบรายงานการโอนเงิน ( NHSO Budget) สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ https://ucapps1.nhso.go.th/budgetreport/
ข้อมูล ณ วันที่ 28 เมษายน 2564  
	 

ดาวน์โหลดรายงานเป็นไฟล์ PDF

Happy
0 0 %
Sad
0 0 %
Excited
0 0 %
Sleepy
0 0 %
Angry
0 0 %
Surprise
0 0 %

รายงานสถานการณ์ทางการเงินจังหวัดขอนแก่น ณ มีนาคม 2564

0 0
Read Time:1 Minute, 54 Second

โดยคณะกรรมการพัฒนาระบบการเงินการคลัง (CFO) สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดขอนแก่น

ภาพรวมวิกฤติทางการเงินในเขตสุขภาพที่ 7


ข้อมูลจากกองเศรษฐกิจสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ สป. สธ. ณ วันที่ 16 เมษายน 2564 ประมวลผลโดยสำนักงานเขตสุขภาพที่ 7 พบว่าจังหวัดขอนแก่น ไม่มีหน่วยบริการที่อยู่ในวิกฤติระดับ 4-7  โดยข้อมูลรายแห่งตามตารางด้านล่าง

ข้อมูลวิเคราะห์วิกฤติทางการเงินระดับ 7 จังหวัดขอนแก่น

*ข้อมูลจาก กองเศรษฐกิจสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ สป. สธ. ประมวลผลโดย กลุ่มงานประกันสุขภาพ สสจ.ขอนแก่น ณ วันที่ 21 เมษายน 2564
รายการคำย่อ
CR = Current Ratio 
QR = Quick Ratio 
Cash = Cash Ratio 
NWC = ทุนสำรองสุทธิ 
NI = รายได้สูง(ต่ำ)กว่าค่าใช้จ่ายสุทธิ 
LiI = Liquid Index	
StI = Status Index
SuI = Survival Index
RiskScroing = คะแนนความเสี่ยง
EBITDA = กำไรก่อนหักค่าเสื่อม
HMBRD = เงินคงเหลือหลังหักหนี้แล้ว

การควบคุมกำกับแผนทางการเงิน จังหวัดขอนแก่น ปี 2564

ข้อมูลจากกองเศรษฐกิจสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ สป.สธ. (ข้อมูล ณ วันที่ 21 เมษายน 2564)

การควบคุมกำกับด้านรายได้

¨ ณ สิ้นเดือนมีนาคม 2564 นี้ มีหน่วยบริการที่ผ่านเกณฑ์การควบคุมคือรายได้สูง/ต่ำกว่าแผนไม่เกินร้อยละ 5 จำนวน 17 รพ. คิดเป็น 65.38%   ส่วนรายได้ต่ำกว่าแผนเกินกว่าร้อยละ5 มีจำนวน 1 แห่งได้แก่ อุบลรัตน์ โดยมีรายได้ต่ำกว่าแผนคิดเป็นร้อยละ 8.46

การควบคุมกำกับด้านค่าใช้จ่าย

¨ รพ.ที่มีการควบคุมค่าใช้จ่ายให้เป็นไปตามเกณฑ์  ไม่เกินบวกลบ5% มีจำนวน 20 แห่งเพิ่มขึ้นจาก18แห่งในเดือนที่แล้ว และ รพ.ที่มีค่าใช้จ่ายเกินเกณฑ์ จำนวน 6 แห่ง ในจำนวนนี้ส่วนมากเป็นหน่วยบริการที่มีค่าใช้จ่ายน้อยกว่าแผนเกิน 5 % มีเพียง รพ.หนองนาคำที่มีค่าใช้จ่ายมากกว่าแผนเกินกว่า 5 %

รายงานการโอนงบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติจังหวัดขอนแก่น ปี 2564

รายงานการโอนงบเหมาจ่ายรายหัว
รายงานการโอนงบกองทุนอื่นๆ
ที่มา : จากระบบรายงานการโอนเงิน ( NHSO Budget) สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ https://ucapps1.nhso.go.th/budgetreport/
ข้อมูล ณ วันที่ 28 เมษายน 2564  

ดาวน์โหลดเอกสารเป็น PDF ได้ที่นี่

Happy
0 0 %
Sad
0 0 %
Excited
0 0 %
Sleepy
0 0 %
Angry
0 0 %
Surprise
0 0 %

การประชุมคณะกรรมการพัฒนาระบบการเงินการคลังหน่วยบริการสุขภาพ จังหวัดขอนแก่น ครั้งที่ 5/2563

0 0
Read Time:2 Minute, 20 Second

ระเบียบวาระการประชุม
ประชุมคณะกรรมการพัฒนาระบบการเงินการคลัง (Chief Financial Officer : CFO)
หน่วยบริการสุขภาพ จังหวัดขอนแก่น ครั้งที่ 5/2563
วันที่ 24 ธันวาคม 2563 เวลา 13.00-16.30 น.
ณ ห้องประชุม Video Conference ชั้น 3 อาคารใหม่ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดขอนแก่น

ระเบียบวาระที่ ๑ เรื่องที่ประธานแจ้งให้ที่ประชุมทราบ
ตามที่ รัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุข ได้มอบนโยบายขับเคลื่อนการดำเนินงาน ปีงบประมาณ 2564 โดยยกระดับระบบหลักประกันสุขภาพในการรับบริการกับหมอประจำครอบครัวในหน่วยบริการปฐมภูมิที่ไหนก็ได้ ผู้ป่วยในไม่ต้องกลับไปรับใบส่งตัว โรคมะเร็งไปรับบริการที่ไหนก็ได้ที่มีความพร้อม และการย้ายหน่วยบริการได้ 4 ครั้งต่อปีได้สิทธิทันที (ไม่ต้องรอ 15 วัน) ทั้งนี้ จากมติที่ประชุมคณะกรรมการชับเคลื่อนนโยบายกระทรวงสาธารณสุขสู่การปฏิบัติ เขตสุขภาพที่ 7 ปีงบประมาณ 2564 เมื่อวันที่ 23 พฤศจิกายน 2564 ผ่านความเห็นชอบจากคณะกรรมการเขตสุขภาพที่ 7 เมื่อวันที่ 26 พฤศจิกายน 2564 ในการขับเคลื่อนนโยบายยกระดับ ทั้ง 4 เรื่อง โดยเริ่มดำเนินการ ตั้งแต่ 1 มกราคม 2564 เป็นต้นไป จึงเห็นควรจัดประชุมคณะกรรมการพัฒนาระบบการเงินการคลัง (CFO) หน่วยบริการสุขภาพ จังหวัดขอนแก่น เพื่อพิจารณาประเด็นที่เกี่ยวข้อง และกำกับติดตามการบริหารประสิทธิภาพการเงินการคลังของหน่วยบริการ ขึ้นในวันนี้

ระเบียบวาระที่ ๒ รับรองรายงานการประชุม
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดขอนแก่นได้สรุปรายงานการประชุมคณะกรรมการบริหารการเงินการคลัง (CFO) หน่วยบริการสุขภาพ จังหวัดขอนแก่น ครั้งที่ 4/2563 เมื่อวันที่ 28 กันยายน 2563

ระเบียบวาระที่ ๓ เรื่องสืบเนื่อง
3.1 แนวทางการพัฒนาประสิทธิภาพการเงินการคลังระดับ CUP และเครือข่ายหน่วยบริการ
จังหวัดขอนแก่น ปีงบประมาณ 2564

ระเบียบวาระที่ ๔ เรื่องเพื่อทราบ
4.1 สรุปสถานการณ์การเงินการคลังหน่วยบริการในจังหวัดขอนแก่น ณ เดือนพฤศจิกายน 2563
4.2 สรุปรายงานการตรวจเยี่ยมเสริมพลังและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้านการเงินการคลังโรงพยาบาลในจังหวัดขอนแก่น ปีงบประมาณ 2564
4.3 การจัดเก็บข้อมูลพื้นฐานประกอบการจัดทำข้อเสนอการจัดสรรงบกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ และงบประมาณรายการอื่นของหน่วยบริการสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวง สาธารณสุข ปีงบประมาณ 2565

ระเบียบวาระที่ 5 เรื่องเพื่อพิจารณา
5.1 แนวทางการดำเนินงานยกระดับระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า นโยบาย รมว. 4 ข้อ
– การรับบริการกับหมอประจำครอบครัวในหน่วยบริการปฐมภูมิที่ไหนก็ได้
– ผู้ป่วยในไม่ต้องกลับไปรับใบส่งตัว และ Seamless Referral System
– โรคมะเร็งไปรับบริการที่ไหนก็ได้ที่มีความพร้อม
– ย้ายหน่วยบริการได้ 4 ครั้งต่อปีได้สิทธิทันที

5.2 การบริหารงบ OP Virtual Account จังหวัดขอนแก่น
– เพื่อตามการจ่ายค่าบริการทางการแพทย์ผู้ป่วยนอก กรณี ผู้ป่วยรักษาระดับหน่วยบริการปฐมภูมิในจังหวัด และนอกจังหวัด

ระเบียบวาระที่ 6 เรื่องอื่นๆ (ถ้ามี)
6.1 …………………………………………………………………………………………………
6.2 …………………………………………………………………………………………………

Happy
0 0 %
Sad
0 0 %
Excited
0 0 %
Sleepy
0 0 %
Angry
0 0 %
Surprise
0 0 %
Exit mobile version