อบรมกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องในการบริหารวัสดุวิทยาศาสตร์การแพทย์

0 0
Read Time:23 Second

การอบรมเชิงปฏิบัติการการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์เรื่องกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องในการบริหารวัสดุวิทยาศาสตร์การแพทย์ ภายใต้โครงการพัฒนาการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารด้านการเงินการคลังของหน่วยบริการในเขตสุขภาพที่ ๗ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖ ในวันที่ ๙ มิถุนายน พ.ศ. ๒๕๖๖ ณ ห้องแกรนด์พาวินเลี่ยน โรงแรมราชาวดี รีสอร์ท แอนด์ โฮเทล จังหวัดขอนแก่น

Happy
0 0 %
Sad
0 0 %
Excited
0 0 %
Sleepy
0 0 %
Angry
0 0 %
Surprise
0 0 %

อบรมเชิงปฏิบัติการการบันทึกข้อมูล PP Fee Schedule

0 0
Read Time:2 Minute, 7 Second

อบรมเชิงปฏิบัติการการบันทึกข้อมูล PP Fee Schedule ๒๒ รายการ ภายใต้โครงการพัฒนาการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารด้านการเงินการคลังของหน่วยบริการ ในเขตสุขภาพที่ ๗ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖ ในวันที่ ๒๕ – ๒๖ พฤษภาคม ๒๕๖๖

โดย นายพิทักษ์ชัย จิตรมั่น เจ้าพนักงานเวชสถิติชานาญงาน หัวหน้ากลุ่มงานประกันสุขภาพ โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชเดชอุดม จังหวัดอุบลราชธานี กลุ่มเป่าหมายได้แก่ ผู้ปฏิบัติงานด้านการจัดเก็บรายได้ หน่วยบริการทุกแห่งในเขตสุขภาพที่ 7

กำหนดการ

  • บรรยายเรื่อง “กองทุน PP บริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคสำหรับบริการพื้นฐาน (PP&NPP, PPA, PP basic service)”
    • บริการคัดกรองรอยโรคเสี่ยงมะเร็งและมะเร็งช่องปาก (CA Oral Screening)
    • บริการตรวจคัดกรองและค้นหาวัณโรคในกลุ่มเสี่ยงสูง
    • บริการคัดกรองและประเมินปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพกาย/สุขภาพจิต
    • บริการตรวจยีน BRCA๑/8RCA๒ในกลุ่มผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่มีความเสี่ยงสูงและญาติสายตรงที่มีประวัติครอบครัวตรวจพบยีนกลายพันธุ์
    • บริการตรวจคัดกรองผู้ป่วยโรคพันธุกรรมเมตาบอลิกด้วยเครื่องTandem mass spectrometry (TMS)
    • บริการคัดกรองโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก
    • บริการยาเม็ดเสริมธาตุเหล็ก
    • บริการวัคซีนคอตีบ-บาดทะยัก (dT) ในผู้ใหญ่
    • บริการเคลือบฟลูออไรด์ (กลุ่มสี่ยง)
  • บรรยายเรื่อง “การบริหารกองทุน OP ผู้ป่วยนอก”
    • กองทุนบริการ Telehealth
    • กองทุนบริการ ส่งยาทางไปรษณีย์
    • กองทุน OP-AE, OP-Anywhere, OP-Refer, OP-Walk in,
    • กองทุนไตวายเรื้อรัง HD/CAPD
    • กองทุน DM HT GDM PDM
    • กองทุน HIV
    • กองทุน TB
    • กองทุน Instrument
    • กองทุน palliative care
    • กองทุน ฟื้นฟู /IMC
    • กองทุน จิตเวชชุมชน
    • กองทุน แพทย์แผนไทย/บริการกัญชา
    • กองทุน OP Covid-๑๙
    • กองทุน OP ODS
    • กองทุน CA
    • กองทุน Home Ward
    • กองทุน รากฟันเทียมสำหรับผู้ไม่มีฟันทั้งปาก
  • บรรยายเรื่อง “การบริหารกองทุน IP ผู้ป่วยใน”
    • ผู้ป่วยใน ในเขต ข้ามเขต
    • ผู้ป่วยใน โรคเฉพาะ
    • ผู้ป่วยใน Covid-19
    • ผู้ป่วยใน ทารกแรกเกิดที่มีความดันปอดสูง
    • ผู้ป่วยใน บริการสำรองเตียง
    • ผู้ป่วยใน MIS
    • ผู้ป่วยใน ORS
    • ผู้ป่วยใน บริการผ่าตัดข้อเข้าเทียม
    • ผู้ป่วยใน บริการผ่าตัดฝังประสาทหูเทียม
    • ผู้ป่วยใน บริการผ่าตัดต้อกระจก OP/IP
    • ผู้ป่วยใน บริการผ่าตัดเปลี่ยนกระจกตา

เอกสารประกอบการประชุม

Happy
0 0 %
Sad
0 0 %
Excited
0 0 %
Sleepy
0 0 %
Angry
0 0 %
Surprise
0 0 %

ประชุมเชิงปฏิบัติการการพัฒนาระบบการจัดเก็บรายได้ ปี 2566

0 0
Read Time:1 Minute, 23 Second

กำหนดการประชุมเชิงปฏิบัติการ
การพัฒนาระบบการจัดเก็บรายได้โดยการใช้ข้อมูลสารสนเทศเพื่อการเบิกชดเชยค่าบริการทางการแพทย์สำหรับหน่วยบริการทุกสิทธิ
ประจำปี 2566
ในวันที่ 6-7 มิถุนายน พ.ศ. 2566 เวลา 08.00 – 17.00 น.
ณ ห้องประชุมศรีจันทร์ (ชั้น4)
โรงแรมเจริญธานี อำเภอเมืองขอนแก่น จังหวัดขอนแก่น

วาระประชุมประกอบด้วย

  • กล่าวเปิดโครงการ และบรรยายพิเศษนโยบายการดำเนินงานด้านการเงินการคลังของหน่วยบริการจังหวัดขอนแก่น โดย นายแพทย์อภิชัย ลิมานนท์ นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดขอนแก่น
  • อภิปราย เรื่อง “การพัฒนาประสิทธิภาพการเงินการคลัง การจัดทำแผนเงินบำรุงและระบบจัดเก็บรายได้คุณภาพ สำหรับผู้บริหาร”
  • อภิปราย เรื่อง “การจัดทำแผนเงินบำรุงและใช้งานแผนเงินบำรุงอย่างมีประสิทธิภาพ โปรแกรมแผนเงินบำรุงสำหรับผู้บริหาร และระบบควบคุมภายในด้วยอิเล็กทรอนิกส์ 5 มิติ (Electronic Internal Audit : EIA)”
  • อภิปราย เรื่อง “การพัฒนาประสิทธิภาพ Total Performance Score และการพัฒนาระบบจัดเก็บรายได้คุณภาพ”
  • อภิปราย เรื่อง “การเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารการเงินการคลัง” ในการบริหารจัดการด้านการเงิน บัญชี และพัสดุ

เอกสารประกอบการประชุม

Happy
0 0 %
Sad
0 0 %
Excited
0 0 %
Sleepy
0 0 %
Angry
0 0 %
Surprise
0 0 %

การบริหารด้านยาเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา วัสดุทันตกรรม

0 0
Read Time:9 Second

เอกสารประกอบการอบรมกฎระเบียบที่เกี่ยวข้องในการบริหารด้านยาเวชภัณฑ์ที่มิใช่ยา วัสดุทันตกรรม

Happy
0 0 %
Sad
0 0 %
Excited
0 0 %
Sleepy
0 0 %
Angry
0 0 %
Surprise
0 0 %

คณะกรรมการ พปง.ตรวจเยี่ยมรพ.เปือยน้อย

0 0
Read Time:1 Minute, 24 Second

คณะกรรมการพัฒนาประสิทธิภาพการเงินการคลัง (พปง.) หน่วยบริการสุขภาพ จังหวัดขอนแก่น ได้ออกติดตามการพัฒนาประสิทธิภาพการเงินการคลังของหน่วยบริการ ปีงบประมาณ 2566 ณ โรงพยาบาลเปือยน้อย

วันที่ 25 พฤศจิกายน 2565 เวลา 08.30 – 16.30 น. นายแพทย์อดุลย์ บำรุง ผู้อำนวยการโรงพยาบาลบ้านไผ่ รักษาการในตำแหน่งนายแพทย์เชี่ยวชาญ (ด้านเวชกรรมป้องกัน) ประธานคณะกรรมการพัฒนาประสิทธิภาพการเงินการคลัง (พปง.) หน่วยบริการสุขภาพ จังหวัดขอนแก่น ได้ออกติดตามการพัฒนาประสิทธิภาพการเงินการคลังของหน่วยบริการ ปีงบประมาณ 2566 ณ โรงพยาบาลเปือยน้อย โดยมีคณะกรรมการฯ ที่ร่วมในการออกติดตามฯ ประกอบด้วย ผู้อำนวยการโรงพยาบาลหนองสองห้อง สาธารณสุขอำเภอหนองเรือ สนง.เขตสุขภาพที่ 7 คณะกรรมการฯ จากโรงพยาบาลหนองเรือ บ้านไผ่ แวงน้อย แวงใหญ่ และกลุ่มงานบริหารฯ กลุ่มงานคุ้มครองผู้บริโภคฯ และกลุ่มงานประกันสุขภาพ สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดขอนแก่น

โดยมีเป้าหมายการออกติดตามผลการดำเนินงานฯ หน่วยบริการที่มีสถานการณ์ทางการเงินภาวะวิกฤติระดับ 1-3 เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประเด็นปัญหา ตลอดจนช่วยวิเคราะห์และหาแนวทางการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น ตามกรอบการประเมินด้านสถานการณ์ทางการเงิน (Risk Score) ,7+ Efficency Score, ประสิทธิภาพการบริหารการเงินการคลัง 5 มิติ (EIA) มิติด้านการจัดเก็บรายได้ และ ประสิทธิภาพการบริหารการเงินการคลังตามเกณฑ์การให้คะแนน Total Performance Score (TPS) ทั้งนี้โรงพยาบาลเปือยน้อย ได้วิเคราะห์ข้อมูลตามกรอบดังกล่าวได้ครบถ้วนและมีแผนพัฒนาประสิทธิภาพการเงินการคลัง

แผนเปือยน้อยพันภัย เพิ่มรายได้ ลดรายจ่าย หาจุดขาย

ซึ่งคณะกรรมการฯ ได้มีข้อเสนอแนะเพิ่มเติม ได้แก่ จัดทำระบบบัญชีให้มีความครบถ้วน ถูกต้อง การจัดเก็บรายได้ให้ครบทุกสิทธิ การจัดบริการที่เพิ่มรายได้ และลดรายจ่ายที่ไม่จำเป็น

Happy
0 0 %
Sad
0 0 %
Excited
0 0 %
Sleepy
0 0 %
Angry
0 0 %
Surprise
0 0 %

ระบบสารสนเทศด้านการเงินการคลังหน่วยบริการ ปี 2566

0 0
Read Time:31 Second

วัตถุประสงค์ระบบ

  1. เพื่อรวมระบบการส่งข้อมูลเข้ามาไว้ที่ระบบเดียว เช่น การส่งแผนแพลนฟิน การส่งผล การส่งข้อมูลบริการ
  2. เพื่อรวบรวมข้อมูลมาทำรายงานในรูปแบบ visualization  ตามแบบฟอร์มรายงานทางบัญชี
  3. หน่วยระดับ สสจ. และ เขต สามารถมอนิเตอร์ข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูลได้เองด้วยระบบ superset

เอกสารประกอบการประชุม

Happy
0 0 %
Sad
0 0 %
Excited
0 0 %
Sleepy
0 0 %
Angry
0 0 %
Surprise
0 0 %

ผลการประกวด Brigth spot hospital ปี2565

0 0
Read Time:59 Second

วันที่ 21 กันยายน 2565 เวลา 13.30 – 14.00 น. ณ ห้องประชุมร้อยแก่นสารสินธุ์ ชั้น 5 สำนักงานเขตสุขภาพที่ 7 จังหวัดขอนแก่น นายแพทย์สวัสดิ์ อภิวัจนีวงศ์ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 7 เป็นประธานในการประชุมคณะกรรมการเขตสุขภาพที่ 7 ครั้งที่ 5/2565 และมอบเกียรติบัตรหน่วยบริการที่มีผลการพัฒนาประสิทธิภาพทางการเงินการคลังดีเด่น (BRIGHT SPOT HOSPITAL) เขตสุขภาพที่ 7 ประจำปีงบประมาณ 2565

ทั้งนี้โรงพยาบาลในจังหวัดขอนแก่น ได้รับรางวัลผลการพัฒนาประสิทธิภาพทางการเงินการคลัง สำหรับหน่วยบริการที่มีผลงานดีเด่น (BRIGHT SPOT HOSPITAL) เขตสุขภาพที่ 7 ประจำปีงบประมาณ 2565 ดังนี้

โรงพยาบาลสิรินธร จังหวัดขอนแก่น (ได้รับรางวัลรองชนะเลิศ ลำดับที่ 1)
โรงพยาบาลพล (ได้รับรางวัลชนะเลิศ) เงินที่ได้รับจัดสรร หนึ่งล้านบาท
โรงพยาบาลแวงน้อย (ได้รับรางวัลชนะเลิศ) เงินที่ได้รับจัดสรร หนึ่งล้านสองแสนห้าหมื่นบาท
โรงพยาบาลซำสูง (ได้รับรางวัลรองชนะเลิศ ลำดับที่ 2) เงินที่ได้รับจัดสรร แปดแสนเจ็ดหมื่นห้าพันบาท
โรงพยาบาลโคกโพธิ์ไชย (ได้รับรางวัลชนะเลิศ) เงินที่ได้รับจัดสรร หนึ่งล้านห้าแสนบาท
Happy
0 0 %
Sad
0 0 %
Excited
0 0 %
Sleepy
0 0 %
Angry
0 0 %
Surprise
0 0 %

อัตราส่วนทางการเงินและสูตรคำนวณ

0 0
Read Time:7 Minute, 4 Second

รวมอัตราส่วนทางการเงิน ที่ใช้วัดการดำเนินกิจการ โดยแบ่งกลุ่มดัชนีอัตราส่วนทางการเงินเป็น 3 กลุ่ม คือ

  • อัตราส่วนที่วัดสภาพคล่องทางการเงิน
  • อัตราส่วนที่วัดประสิทธิภาพการดำเนินงาน
  • อัตราส่วนที่วัดประสิทธิภาพในการทำกำไร

รหัสและชื่ออัตราส่วนทางการเงิน 100-Current Ratio

  • หน่วยนับ เท่า
  • กลุ่มของอัตราส่วน 1.สภาพคล่อง
  • สูตรการคำนวณ X/Y
  • ค่า X มาจาก สินทรัพย์หมุนเวียน
  • ค่า Y มาจาก หนี้สินหมุนเวียน

รหัสและชื่ออัตราส่วนทางการเงิน 101Quick Ratio

  • หน่วยนับ เท่า
  • กลุ่มของอัตราส่วน 1.สภาพคล่อง
  • สูตรการคำนวณ X/Y
  • ค่า X มาจาก เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดและลูกหนี้
  • ค่า Y มาจาก หนี้สินหมุนเวียน

รหัสและชื่ออัตราส่วนทางการเงิน 102Cash Ratio

  • หน่วยนับ เท่า
  • กลุ่มของอัตราส่วน 1.สภาพคล่อง
  • สูตรการคำนวณ X/Y
  • ค่า X มาจาก เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด
  • ค่า Y มาจาก หนี้สินหมุนเวียน

รหัสและชื่ออัตราส่วนทางการเงิน 103-อัตราส่วนลูกหนี้ต่อสินทรัพย์หมุนเวียน

  • หน่วยนับ เท่า
  • กลุ่มของอัตราส่วน 1.สภาพคล่อง
  • สูตรการคำนวณ X/Y
  • ค่า X มาจาก ลูกหนี้รวม
  • ค่า Y มาจาก สินทรัพย์หมุนเวียน

รหัสและชื่ออัตราส่วนทางการเงิน 104Networking Capital

  • หน่วยนับ บาท
  • กลุ่มของอัตราส่วน 1.สภาพคล่อง
  • สูตรการคำนวณ X-Y
  • ค่า X มาจาก สินทรัพย์หมุนเวียน
  • ค่า Y มาจาก หนี้สินหมุนเวียน

รหัสและชื่ออัตราส่วนทางการเงิน 105เงินบำรุงคงเหลือ(หักหนี้แล้ว)

  • หน่วยนับ บาท
  • กลุ่มของอัตราส่วน 1.สภาพคล่อง
  • สูตรการคำนวณ X-Y
  • ค่า X มาจาก เงินบำรุงคงเหลือ+
  • ค่า Y มาจาก เงินบำรุงคงเหลือ-

รหัสและชื่ออัตราส่วนทางการเงิน 105.1เงินบำรุงคงเหลือ(หักหนี้แล้ว)ต่อหนี้สินหมุนเวียน

  • หน่วยนับ เท่า
  • กลุ่มของอัตราส่วน 1.สภาพคล่อง
  • สูตรการคำนวณ X/Y
  • ค่า X มาจาก เงินบำรุงคงเหลือ+
  • ค่า Y มาจาก หนี้สินหมุนเวียน

รหัสและชื่ออัตราส่วนทางการเงิน 260Average Payment Period (ยาและเวชภัณฑ์มิใช่ยา)

  • หน่วยนับ วัน
  • กลุ่มของอัตราส่วน 2.ประสิทธิภาพในการดำเนินงาน
  • สูตรการคำนวณ (X/Y)*จำนวนวันของเดือนนั้น
  • ค่า X มาจาก เจ้าหนี้การค้า(ยา วชช.)คงเหลือเฉลี่ย
  • ค่า Y มาจาก เจ้าหนี้การค้า(ยา วชช.)รวม

รหัสและชื่ออัตราส่วนทางการเงิน 261Average Collection Period-สิทธิ UC

  • หน่วยนับ วัน
  • กลุ่มของอัตราส่วน 2.ประสิทธิภาพในการดำเนินงาน
  • สูตรการคำนวณ (X/Y)*จำนวนวันของเดือนนั้น
  • ค่า X มาจาก ลูกหนี้ค่ารักษาสิทธิ UC เฉลี่ย
  • ค่า Y มาจาก รายได้ค่ารักษาพยาบาลสิทธิ UC สุทธิ

รหัสและชื่ออัตราส่วนทางการเงิน 262Average Collection Period- CSMBS

  • หน่วยนับ วัน
  • กลุ่มของอัตราส่วน 2.ประสิทธิภาพในการดำเนินงาน
  • สูตรการคำนวณ (X/Y)*จำนวนวันของเดือนนั้น
  • ค่า X มาจาก ลูกหนี้ค่ารักษาสิทธิ CS เฉลี่ย
  • ค่า Y มาจาก รายได้ค่ารักษาพยาบาล CS สุทธิ

รหัสและชื่ออัตราส่วนทางการเงิน 263Average Collection Period-SSS

  • หน่วยนับ วัน
  • กลุ่มของอัตราส่วน 2.ประสิทธิภาพในการดำเนินงาน
  • สูตรการคำนวณ (X/Y)*จำนวนวันของเดือนนั้น
  • ค่า X มาจาก ลูกหนี้ค่ารักษาสิทธิ SS (ในเครือข่าย) เฉลี่ย
  • ค่า Y มาจาก รายได้ค่ารักษาพยาบาลสิทธิ SS สุทธิ

รหัสและชื่ออัตราส่วนทางการเงิน 264Inventory Management

  • หน่วยนับ วัน
  • กลุ่มของอัตราส่วน 2.ประสิทธิภาพในการดำเนินงาน
  • สูตรการคำนวณ (X/Y)*จำนวนวันของเดือนนั้น
  • ค่า X มาจาก วัสดุคงคลังเฉลี่ย(ยา/เวชภัณฑ์มิใช่ยา)
  • ค่า Y มาจาก วัสดุใช้ไป (ยา/เวชภัณฑ์มิใช่ยา)

รหัสและชื่ออัตราส่วนทางการเงิน 302อัตรากำไรขั้นต้น(ไม่มีค่าเสื่อมฯ)

  • หน่วยนับ %
  • กลุ่มของอัตราส่วน 3.ประสิทธิภาพในการทำกำไร
  • สูตรการคำนวณ (X/Y)*100
  • ค่า X มาจาก กำไรขั้นต้น (ไม่รวมค่าเสื่อมฯ)
  • ค่า Y มาจาก รวมรายได้ค่ารักษาพยาบาล/รายได้งบประมาณส่วนบุคลากร/รายได้กองทุน

รหัสและชื่ออัตราส่วนทางการเงิน 303อัตรากำไรขั้นต้น(มีค่าเสื่อมฯ)

  • หน่วยนับ %
  • กลุ่มของอัตราส่วน 3.ประสิทธิภาพในการทำกำไร
  • สูตรการคำนวณ (X/Y)*100
  • ค่า X มาจาก กำไรขั้นต้น(มีค่าเสื่อมฯ)
  • ค่า Y มาจาก รวมรายได้ค่ารักษาพยาบาล/รายได้งบประมาณส่วนบุคลากร/รายได้กองทุน

รหัสและชื่ออัตราส่วนทางการเงิน 304อัตรากำไรจากการดำเนินงาน(ไม่มีค่าเสื่อมฯ)

  • หน่วยนับ %
  • กลุ่มของอัตราส่วน 3.ประสิทธิภาพในการทำกำไร
  • สูตรการคำนวณ (X/Y)*100
  • ค่า X มาจาก กำไรจากการดำเนินงาน(ไม่มีค่าเสื่อมฯ)
  • ค่า Y มาจาก รวมรายได้ค่ารักษาพยาบาล/รายได้งบประมาณส่วนบุคลากร/รายได้กองทุน

รหัสและชื่ออัตราส่วนทางการเงิน 305อัตรากำไรจากการดำเนินงาน(มีค่าเสื่อมฯ)

  • หน่วยนับ %
  • กลุ่มของอัตราส่วน 3.ประสิทธิภาพในการทำกำไร
  • สูตรการคำนวณ (X/Y)*100
  • ค่า X มาจาก กำไรจากการดำเนินงาน(มีค่าเสื่อมฯ)
  • ค่า Y มาจาก รวมรายได้ค่ารักษาพยาบาล/รายได้งบประมาณส่วนบุคลากร/รายได้กองทุน

รหัสและชื่ออัตราส่วนทางการเงิน 306อัตรากำไรสุทธิ(ไม่มีค่าเสื่อมฯ)

  • หน่วยนับ %
  • กลุ่มของอัตราส่วน 3.ประสิทธิภาพในการทำกำไร
  • สูตรการคำนวณ (X/Y)*100
  • ค่า X มาจาก กำไรสุทธิ(ไม่มีค่าเสื่อมฯ)
  • ค่า Y มาจาก รายได้รวม

รหัสและชื่ออัตราส่วนทางการเงิน 307อัตรากำไรสุทธิ(มีค่าเสื่อมฯ)

  • หน่วยนับ %
  • กลุ่มของอัตราส่วน 3.ประสิทธิภาพในการทำกำไร
  • สูตรการคำนวณ (X/Y)*100
  • ค่า X มาจาก กำไรสุทธิ(มีค่าเสื่อมฯ)
  • ค่า Y มาจาก รายได้รวม

รหัสและชื่ออัตราส่วนทางการเงิน 310ค่าใช้จ่ายรวมต่อรายได้จากการบริการ %

  • หน่วยนับ %
  • กลุ่มของอัตราส่วน 3.ประสิทธิภาพในการทำกำไร
  • สูตรการคำนวณ (X/Y)*100
  • ค่า X มาจาก ค่าใช้จ่ายรวม
  • ค่า Y มาจาก รวมรายได้ค่ารักษาพยาบาล

รหัสและชื่ออัตราส่วนทางการเงิน 311ต้นทุนค่ารักษาพยาบาลต่อค่าใช้จ่ายรวม %

  • หน่วยนับ %
  • กลุ่มของอัตราส่วน 3.ประสิทธิภาพในการทำกำไร
  • สูตรการคำนวณ (X/Y)*100
  • ค่า X มาจาก ต้นทุนค่ารักษาพยาบาล
  • ค่า Y มาจาก ค่าใช้จ่ายรวม

รหัสและชื่ออัตราส่วนทางการเงิน 312ค่าใช้จ่ายดำเนินการต่อค่าใช้จ่ายรวม %

  • หน่วยนับ %
  • กลุ่มของอัตราส่วน 3.ประสิทธิภาพในการทำกำไร
  • สูตรการคำนวณ (X/Y)*100
  • ค่า X มาจาก ค่าใช้จ่ายดำเนินการ
  • ค่า Y มาจาก ค่าใช้จ่ายรวม

รหัสและชื่ออัตราส่วนทางการเงิน 313ค่าใช้จ่ายบุคลากรต่อค่าใช้จ่ายรวม %

  • หน่วยนับ %
  • กลุ่มของอัตราส่วน 3.ประสิทธิภาพในการทำกำไร
  • สูตรการคำนวณ (X/Y)*100
  • ค่า X มาจาก ค่าใช้จ่ายบุคลากรรวม
  • ค่า Y มาจาก ค่าใช้จ่ายรวม

รหัสและชื่ออัตราส่วนทางการเงิน 314กำไรสุทธิ(ไม่มีค่าเสื่อมฯ)ต่อสินทรัพย์รวม %

  • หน่วยนับ %
  • กลุ่มของอัตราส่วน 3.ประสิทธิภาพในการทำกำไร
  • สูตรการคำนวณ (X/Y)*100
  • ค่า X มาจาก กำไรสุทธิ(ไม่มีค่าเสื่อมฯ)
  • ค่า Y มาจาก สินทรัพย์รวม

รหัสและชื่ออัตราส่วนทางการเงิน 315กำไรสุทธิ(มีค่าเสื่อมฯ)ต่อสินทรัพย์รวม %

  • หน่วยนับ %
  • กลุ่มของอัตราส่วน 3.ประสิทธิภาพในการทำกำไร
  • สูตรการคำนวณ (X/Y)*100
  • ค่า X มาจาก กำไรสุทธิ(มีค่าเสื่อมฯ)
  • ค่า Y มาจาก สินทรัพย์รวม

รหัสและชื่ออัตราส่วนทางการเงิน 316I/E Ratio

  • หน่วยนับ เท่า
  • กลุ่มของอัตราส่วน 3.ประสิทธิภาพในการทำกำไร
  • สูตรการคำนวณ X/Y
  • ค่า X มาจาก รายได้รวม
  • ค่า Y มาจาก ค่าใช้จ่ายรวม

รหัสและชื่ออัตราส่วนทางการเงิน 320Operating Margin %

  • หน่วยนับ %
  • กลุ่มของอัตราส่วน 3.ประสิทธิภาพในการทำกำไร
  • สูตรการคำนวณ (X/Y)*100
  • ค่า X มาจาก EBITDA
  • ค่า Y มาจาก รวมรายได้ค่ารักษาพยาบาล

รหัสและชื่ออัตราส่วนทางการเงิน 321Return on Asset %

  • หน่วยนับ %
  • กลุ่มของอัตราส่วน 3.ประสิทธิภาพในการทำกำไร
  • สูตรการคำนวณ (X/Y)*100
  • ค่า X มาจาก รายได้สูง(ต่ำ)กว่าค่าใช้จ่ายสุทธิ
  • ค่า Y มาจาก สินทรัพย์รวม

รหัสและชื่ออัตราส่วนทางการเงิน 333EBITDA

  • หน่วยนับ บาท
  • กลุ่มของอัตราส่วน 1.สภาพคล่อง
  • สูตรการคำนวณ X-Y
  • ค่า X มาจาก รายได้(ไม่รวมงบลงทุน)
  • ค่า Y มาจาก ค่าใช้จ่าย(ไม่รวมค่าเสื่อมฯ)

รหัสและชื่ออัตราส่วนทางการเงิน 334NI+Depreciation

  • หน่วยนับ บาท
  • กลุ่มของอัตราส่วน 1.สภาพคล่อง
  • สูตรการคำนวณ X-Y
  • ค่า X มาจาก รายได้รวม
  • ค่า Y มาจาก ค่าใช้จ่ายรวม
Happy
0 0 %
Sad
0 0 %
Excited
0 0 %
Sleepy
0 0 %
Angry
0 0 %
Surprise
0 0 %

การบริหารการเงินการคลัง (CFO) รพ.

0 0
Read Time:31 Second

เอกสารนำเสนอการบริหารการเงินการคลัง รพ.ในจังหวัดขอนแก่น นำเสนอในที่ประชุมคณะกรรมการวางแผนและประเมินผลสาธารณสุข จังหวัดขอนแก่น วันที่ 2 กันยายน 2565

Happy
0 0 %
Sad
0 0 %
Excited
0 0 %
Sleepy
0 0 %
Angry
0 0 %
Surprise
0 0 %

เอกสารการพัฒนาศักยภาพนักบริหารการเงินและการคลัง เขต9

0 0
Read Time:32 Second

โครงการประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาศักยภาพนักบริหารการเงินและการคลัง เขตสุขภาพที่ 9 (7 Plus Efficiency) ปี 2565
(รุ่นที่ 1 จ.นครราชสีมา จ.ชัยภูมิ) วันที่ 22 – 23 สิงหาคม 2565

เอกสารประกอบการประชุม

วีดีโอสอนการคำนวณ 7 Plus Efficiency

video ส่วนที่ 1 https://fb.watch/jrMBlnHPxE/

video ส่วนที่ 2 https://fb.watch/jrLWo4KNDs/

Happy
0 0 %
Sad
0 0 %
Excited
0 0 %
Sleepy
0 0 %
Angry
0 0 %
Surprise
0 0 %
Exit mobile version