อบรมเชิงปฏิบัติการการบันทึกข้อมูล PP Fee Schedule

0 0
Read Time:2 Minute, 7 Second

อบรมเชิงปฏิบัติการการบันทึกข้อมูล PP Fee Schedule ๒๒ รายการ ภายใต้โครงการพัฒนาการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารด้านการเงินการคลังของหน่วยบริการ ในเขตสุขภาพที่ ๗ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖ ในวันที่ ๒๕ – ๒๖ พฤษภาคม ๒๕๖๖

โดย นายพิทักษ์ชัย จิตรมั่น เจ้าพนักงานเวชสถิติชานาญงาน หัวหน้ากลุ่มงานประกันสุขภาพ โรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชเดชอุดม จังหวัดอุบลราชธานี กลุ่มเป่าหมายได้แก่ ผู้ปฏิบัติงานด้านการจัดเก็บรายได้ หน่วยบริการทุกแห่งในเขตสุขภาพที่ 7

กำหนดการ

  • บรรยายเรื่อง “กองทุน PP บริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคสำหรับบริการพื้นฐาน (PP&NPP, PPA, PP basic service)”
    • บริการคัดกรองรอยโรคเสี่ยงมะเร็งและมะเร็งช่องปาก (CA Oral Screening)
    • บริการตรวจคัดกรองและค้นหาวัณโรคในกลุ่มเสี่ยงสูง
    • บริการคัดกรองและประเมินปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพกาย/สุขภาพจิต
    • บริการตรวจยีน BRCA๑/8RCA๒ในกลุ่มผู้ป่วยมะเร็งเต้านมที่มีความเสี่ยงสูงและญาติสายตรงที่มีประวัติครอบครัวตรวจพบยีนกลายพันธุ์
    • บริการตรวจคัดกรองผู้ป่วยโรคพันธุกรรมเมตาบอลิกด้วยเครื่องTandem mass spectrometry (TMS)
    • บริการคัดกรองโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก
    • บริการยาเม็ดเสริมธาตุเหล็ก
    • บริการวัคซีนคอตีบ-บาดทะยัก (dT) ในผู้ใหญ่
    • บริการเคลือบฟลูออไรด์ (กลุ่มสี่ยง)
  • บรรยายเรื่อง “การบริหารกองทุน OP ผู้ป่วยนอก”
    • กองทุนบริการ Telehealth
    • กองทุนบริการ ส่งยาทางไปรษณีย์
    • กองทุน OP-AE, OP-Anywhere, OP-Refer, OP-Walk in,
    • กองทุนไตวายเรื้อรัง HD/CAPD
    • กองทุน DM HT GDM PDM
    • กองทุน HIV
    • กองทุน TB
    • กองทุน Instrument
    • กองทุน palliative care
    • กองทุน ฟื้นฟู /IMC
    • กองทุน จิตเวชชุมชน
    • กองทุน แพทย์แผนไทย/บริการกัญชา
    • กองทุน OP Covid-๑๙
    • กองทุน OP ODS
    • กองทุน CA
    • กองทุน Home Ward
    • กองทุน รากฟันเทียมสำหรับผู้ไม่มีฟันทั้งปาก
  • บรรยายเรื่อง “การบริหารกองทุน IP ผู้ป่วยใน”
    • ผู้ป่วยใน ในเขต ข้ามเขต
    • ผู้ป่วยใน โรคเฉพาะ
    • ผู้ป่วยใน Covid-19
    • ผู้ป่วยใน ทารกแรกเกิดที่มีความดันปอดสูง
    • ผู้ป่วยใน บริการสำรองเตียง
    • ผู้ป่วยใน MIS
    • ผู้ป่วยใน ORS
    • ผู้ป่วยใน บริการผ่าตัดข้อเข้าเทียม
    • ผู้ป่วยใน บริการผ่าตัดฝังประสาทหูเทียม
    • ผู้ป่วยใน บริการผ่าตัดต้อกระจก OP/IP
    • ผู้ป่วยใน บริการผ่าตัดเปลี่ยนกระจกตา

เอกสารประกอบการประชุม

Happy
0 0 %
Sad
0 0 %
Excited
0 0 %
Sleepy
0 0 %
Angry
0 0 %
Surprise
0 0 %

ปิดยอดประกันรายรับปี 65 และหลักการbasic payment ปี 66

0 0
Read Time:8 Second

ปิดยอดประกันรายรับปี 65 และหลักการbasic payment ปี 66

Happy
0 0 %
Sad
0 0 %
Excited
0 0 %
Sleepy
0 0 %
Angry
0 0 %
Surprise
0 0 %

การส่งข้อมูลการใช้บริการทางการแพทย์ประเภทผู้ป่วยในรูปแบบใหม่ (AIPN)

0 0
Read Time:1 Minute, 30 Second

การส่งข้อมูลการใช้บริการทางการแพทย์ประเภทผู้ป่วยในรูปแบบใหม่
All In-patient Claim Data File Specification : AIPN

AIPN เป็นโครงสร้างที่กำหนดให้สถานพยาบาลรายงานข้อมูลการใช้บริการทางการแพทย์ ประเภทผู้ป่วยใน แทนการใช้โปรแกรม SIP09 กับผู้ป่วยที่จำหน่ายตั้งแต่ 1 ม.ค. 66 เป็นต้นไป ซึ่งโครงสร้างรูปแบบใหม่ พัฒนามาจากสิทธิสวัสดิการข้าราชการ (CIPN) ระยะแรกใช้กับสิทธิประกันสังคม ระยะต่อไปจะใช้กับสิทธิอื่นๆ ด้วยข้อมูลการใช้บริการทางการแพทย์ประเภทผู้ป่วยใน รูปแบบใหม่ (AIPN)

ข้อมูลการใช้บริการทางการแพทย์ประเภทผู้ป่วยใน ใช้คำนวณค่าบริการทางการแพทย์ให้แก่สถานพยาบาล ดังนี้

  • ค่าบริการทางการแพทย์กรณีรักษาโรคที่มีค่าใช้จ่ายสูงที่มีค่าน้ำหนักสัมพันธ์ปรับตามวันนอน (AdjRW) มากกว่าหรือเท่ากับ 2
  • ค่าบริการทางการแพทย์กรณีผ่าตัดแบบวันเดียวกลับ (One Day Surgery : ODS)
  • ค่าบริการทางการแพทย์กรณีผู้ประกันตนที่ทุพพลภาพเข้ารับบริการ ณ สถานพยาบาลรัฐ
  • ค่าบริการทางการแพทย์ กรณีที่มีค่าใช้จ่ายสูงเกินปกติ (Outlier Reimbursement Schedule : ORS)

เพื่อให้สถานพยาบาลดึงข้อมูลจากระบบสารสนเทศของสถานพยาบาลที่ทำงานและบันทึกข้อมูลการให้บริการที่มีอยู่ในระบบแล้ว (HIS) จัดเตรียมเป็นข้อมูลตามรูปแบบที่กำหนดส่งเบิกค่ารักษาพยาบาลให้กับ สำนักงานสารสนเทศบริการสุขภาพ (สกส.) และช่วยลดการทำงานที่ซ้ำซ้อนจำเป็นต้องให้ผู้ทำงานด้านไอที ทำงานร่วมกับฝ่ายบริหารงานเบิกจ่ายของสถานพยาบาล ทำความเข้าใจในเนื้อหา และความหมายของข้อมูลที่ถูกต้อง อนาคตสถานพยาบาลสามารถส่งข้อมูลเบิกประเภทผู้ป่วยในทุกสิทธิเป็น AIPN โครงสร้างเดียว

Happy
1 100 %
Sad
0 0 %
Excited
0 0 %
Sleepy
0 0 %
Angry
0 0 %
Surprise
0 0 %

การบันทึกข้อมูลเบิกผู้ป่วยในสิทธิประกันสังคม (SSIP)สำหรับสถานพยาบาลรัฐ

0 0
Read Time:1 Minute, 0 Second

การบันทึกข้อมูลเบิกผู้ป่วยในสิทธิประกันสังคม (SSIP) สำหรับสถานพยาบาลรัฐ ประกอบการประชุมชี้แจงโดยสำนักสารสนเทศบริการสุขภาพ (สกส.) เนื้อหาประกอบไปด้วย

สำนักสารสนเทศบริการสุขภาพ (สกส.)
  1. หลักเกณฑ์/แนวทางการบันทึกข้อมูล
  2. โปรแกรมที่ใช้ในระบบ
  3. การปรับปรุงฐานข้อมูลอ้างอิง
  4. การขอรหัส รพ.สนาม/Hospitel
  5. Flow การทางาน และขั้นตอนการบันทึกข้อมูล
  6. การบันทึกข้อมูล COVID-19
Happy
1 50 %
Sad
1 50 %
Excited
0 0 %
Sleepy
0 0 %
Angry
0 0 %
Surprise
0 0 %
Exit mobile version