- 09.45– 10.00 น. ทบทวนเกณฑ์การจ่าย Home Isolation / Community Isolation / OP Self Isolation คุณพิสิทธิ มั่งมี สปสช.เขต 8 อุดรธานี
- 10.0 10.00 – 10.30 น. แนวทางการตรวจสอบก่อนจ่าย (Pre Audit) เพื่อบริการสาธารณสุข กรณี Home Isolation / Community Isolation / OP Self Isolation คุณภิญญดา เอกพจน์ ฝ่ายตรวจสอบการชดเชย สปสช.
- 10.30 – 11.00 น. แนวทางการจัดเตรียมเวชระเบียนเพื่อแก้ไขข้อมูลที่ติดเงื่อนไข Verify ในระบบทักท้วง กรณี Home Isolation / Community Isolation / OP Self Isolation คุณขวัญใจ คงสกุลฝ่ายตรวจสอบการชดเชย สปสช.
- 11.00 – 11.30 น. แนวทางการจัดเตรียมเวชระเบียนเพื่อแก้ไขข้อมูลติดเงื่อนไข Verify และหลักฐานที่ต้องจัดเตรียมเพื่อยืนยันการให้บริการผู้ติดเชื้อโควิด 19 คุณสุมณฑา โสภาพันธ์ ฝ่ายตรวจสอบการชดเชย สปสช.
CPG COVID-19 อัพเดต22เม.ย.65
โดยความร่วมมือของคณาจารย์ ผู้ทรงคุณวุฒิจากหน่วยงานต่าง ๆ และผู้แทนทีมแพทย์ที่ปฏิบัติหน้างานในการดูแลรักษาผู้ป่วยโควิด ได้ทบทวนและปรับแนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วย ตามข้อมูลวิชาการในประเทศ และต่างประเทศ การปรับแนวทางเวชปฏิบัติฯ ฉบับนี้ มีประเด็นต่าง ๆ ดังนี้
- ปรับแนวทางการดูแลรักษาในกลุ่มผู้ไม่มีอาการ กลุ่มที่มีอาการเล็กน้อย กลุ่มที่มีอาการปานกลางและกลุ่มอาการรุนแรง
- เพิ่มข้อบ่งชี้ในการใช้ยาต้านไวรัส และยาอื่น ๆ
- ปรับตารางการให้ยาต้านไวรัสในผู้ป่วยกลุ่มที่ 3
- ปรับการวินิจฉัยและการรักษาเบื้องต้นของผู้ป่วยเด็กที่สงสัยกลุ่มอาการ MIS-C
อบรมนักบัญชีรุ่นใหม่ 2565
อบรมนักบัญชีรุ่นใหม่ รุ่นที่ 2 วันที่ 18 เมษายน 2565 เวลา 8.30 – 16.30 น. ห้องประชุม 1 กศภ.
Hosted by กองเศรษฐกิจสุขภาพฯ กศภ.
ประชุมจัดเก็บรายได้ ปี65
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดขอนแก่น โดยกลุ่มงานประกันสุขภาพ ได้กำหนดจัดประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนาระบบจัดเก็บรายได้ ปีงบประมาณ 2565 ในวันที่ 20-22 เมษายน 2565 เวลา 08.30-16.30 น. โดยมีกลุ่มเป้าหมายคือเจ้าหน้าจากโรงพยาบาลทุกขนาด/สสอ./รพ.สต. ในเขตสุขภาพที่ 7 ผ่านระบบ Video Conference ระบบ Cisco WebEX เพื่อพัฒนาระบบจัดเก็บรายได้ของหน่วยบริการ ในการนี้จึงขอเชิญเจ้าหน้าที่กลุ่มเป้าหมายเข้าร่วมประชุม โดยสามารถลงทะเบียนเข้าร่วมประชุมได้ที่ลิงค์ https://moph.cc/cmzKumPY5
วิทยากรบรรยาย โดย…
- น.ส. อุมาพร แสงชา ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
- นายศุภวัตร นิลรักษา ตำแหน่ง พยาบาลวิชาชีพชำนาญการ
- นายคณวัชร คำชัย ตำแหน่ง นักวิชาการคอมพิวเตอร์ปฏิบัติการ
วาระประชุม
วัน-เวลา | วาระ |
---|---|
20เม.ย.65-เช้า | -ระบบจัดเก็บรายได้โดยการใช้ข้อมูลสารสนเทศ เพื่อการเบิกชดเชยค่าบริการทางการแพทย์สำหรับหน่วยบริการ -สิทธิการรักษา การให้สิทธิ การ MAP สิทธิการรักษาตามผังบัญชี -การตรวจสอบสิทธิการรักษาแบบ REAL TIME จาก DATA AUDIT -การติดตั้งโปรแกรม DataAudit และการใช้งานเบื้องต้น |
20เม.ย.65-บ่าย | -การใช้โปรแกรมเพื่อตรวจสอบข้อมูลเบื้องต้น -การตั้งค่าหมวดค่าใช้จ่ายให้ถูกต้อง (20 หมวดล่าสุด) และ Map รหัส ADP CODEให้ตรงตามหมวดต่างๆ -ปรับฐานข้อมูลเพื่อการส่งออก -การตั้งค่าต่างๆ ตามมาตรฐาน สกส. (CSOP,COPD,CIPN,SSOP,SIP09M) |
21เม.ย.65-เช้า | -การตั้งค่าข้อมูลที่สำคัญ เพื่อให้รองรับการส่งข้อมูลเบิกชดเชย กองทุนต่างๆ -การตั้งค่าสิทธิ์การรักษาให้ครบ ถูกต้องและง่ายต่อระบบเคลมต่างๆ -Drug Catalog / Lab Catalog -การกำหนดค่า X-ray ให้ถูกต้อง -การกำหนดค่าใช้จ่ายหลายราคา ตามสิทธิ์ที่ต้องการ -การตั้งค่าต่างๆ ตามมาตรฐาน สกส. (CSOP,COPD,CIPN,SSOP,SIP09M) -การส่งออก/แก้ไข ระบบ SSOP ประกันสังคมผู้ป่วยนอก -การส่งออก/แก้ไข ระบบ COPD กทม. พัทยา ผู้ป่วยนอก -การส่งออก/แก้ไข ระบบ CSOP จ่ายตรง ผู้ป่วยนอก -การส่งออก/แก้ไข ระบบ CIPN เบิกจ่ายตรง ผู้ป่วยใน |
21เม.ย.65-บ่าย | -การส่งออก/แก้ไข ระบบ SIP09M ประกันสังคม ผู้ป่วยใน/ Covid -การส่งเบิกค่ารถ AMBTR กทม./ประกันสังคม Covid -การขอ Authen Code / การทำ QR Code ให้รองรับระบบเคลมปี 2565 -ระบบส่งออกรองรับ Eclaim2008 / การส่งออกแบบ 16 แฟ้ม -ระบบเคลม UCS -ระบบเคลม อปท. -ระบบเคลม เบิกจ่ายตรง -ระบบเคลม UCAE -ระบบเคลม OP-Refer (รับ Refer) -ระบบเคลม UCS WALKIN ทั่วประเทศ -ระบบเคลม ย้ายหน่วยบริการเกิดสิทธิ์ทันที -ระบบเคลม COVID2019 , ATK และอื่นๆ -ระบบเคลม พรบ. -ระบบมีปัญหาสถานะสิทธิ์ -ระบบสิทธิ์ต่างด้าว -ระบบเคลมฟอกเลือดด้วยเครื่องไตเทียม -ระบบเบิกฟอกไตทางหน้าท้อง |
22เม.ย.65-เช้า | -ระบบเคลม ฝังเข็ม IMC -ระบบเคลม Instrument -ระบบเคลม คุมกำเนิดกึ่งถาวร <=20 ปี และ >=20 ปี -ระบบเคลม ยุติการตั้งครรภ์ที่ไม่ปลอดภัย -ระบบเคลม ODS/MIS -ระบบเคลม มะเร็งทั่วไป -ระบบเคลม ยา Clopidogrel ยา STROKE ยา STEMI -ระบบเคลม Palliative Care |
22เม.ย.65-บ่าย | -ระบบเคลม ทันตกรรมในวัยเรียน -ระบบเคลม ทันตรรม ANC / Ultra Sound / PAP ปี 2565 -ระบบนำเข้า REP และ STATEMENT จาก สปสช. และ สกส. เพื่อปรับปรุงบัญชีลูกหนี้ -การกระทบยอดลูกหนี้ด้วย REP และ STATEMENT จาก สปสช. และ สกส. และ การ Keyin |
หนังสือเชิญ
ไฟล์ประกอบการประชุม
CPG COVID-19 ปรับปรุง ครั้งที่ 21 วันที่ 22 มีนาคม 2565
โดยความร่วมมือของคณาจารย์ ผู้ทรงคุณวุฒิจากหน่วยงานต่าง ๆ และผู้แทนทีมแพทย์ที่ปฏิบัติหน้างานในการดูแลรักษาผู้ป่วยโควิด ได้ทบทวนและปรับแนวทางการดูแลรักษาผู้ป่วย ตามข้อมูลวิชาการในประเทศ และต่างประเทศ การปรับแนวทางเวชปฏิบัติฯ ฉบับนี้มีประเด็นต่าง ๆ ดังนี้
- ปรับคำแนะนำเกี่ยวกับการตรวจวินิจฉัยด้วย antigen test kit (ATK)
- ปรับแนวทางการดูแลรักษาในกลุ่มผู้ไม่มีอาการ กลุ่มที่มีอาการเล็กน้อย กลุ่มที่มีอาการปานกลางและ กลุ่มอาการรุนแรง
- เพิ่มข้อบ่งชี้ในการใช้ยาต้านไวรัส และยาอื่น ๆ
- CPG COVID-19 วันที่ 22 มีนาคม 2565 ปรับเพิ่ม 2 ประเด็น คือ
- a. ตารางที่ 1 ปรับหัวข้อตารางเป็น การให้ยาต้านไวรัสในผู้ป่วยกลุ่มที่ 3
- b. อายุในผู้ป่วยเด็ก ปรับเป็น 18 ปี
แนวทางปฏิบัติในการขอรับค่าใช้จ่ายโรคโควิด 19 วันที่ 24 มีนาคม 2565
ประชุมชี้แจงแนวทางปฏิบัติในการขอรับค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข กรณีผู้ป่วยฉุกเฉินวิกฤต (กรณีโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 วันที่ 24 มีนาคม 2565
สรุปการบันทึกเบิกค่ารักษาตามประกาศ สปส. (อัพเดตหลัง4ก.ค.65)
สรุปการบันทึกข้อมูลเบิกค่ารักษาพยาบาลตามประกาศสำนักงานประกันสังคม ว2537 11 มีนาคม 2565
(หลักเกณฑ์การเบิก ในสถานการณ์ COVID-19) โดยสำนักสารสนเทศบริการสุขภาพ 31 มีนาคม 2565
ตามประกาศฯ ของสำนักงานประกันสังคม ว2537 ลงวันที่ 11 มี.ค. 65 ได้ประกาศหลักเกณฑ์และอัตราการเบิกค่ารักษาผู้ป่วยติดเชื้อ COVID-19 และแนวปฏิบัติการส่งข้อมูลเบิกของ สกส. เลขที่ CHI65-A05 – CHI65-A09 ได้แจ้งวิธีปฏิบัติในการเบิกค่ารักษาฯ ในกรณีต่างๆ สกส.จึงสรุปการเบิกค่ารักษาฯ ดังนี้
รายการ
- ก. กรณีการตรวจคัดกรอง เบิกผ่านระบบ สปสช.
- ข. กรณีผู้ป่วยนอกตามแนวทาง เจอ แจก จบ (Self – Isolation)
- สถานพยาบาลในโครงการ เบิกผ่านสกส. ระบบ SSOP ตามแนวปฏิบัติเลขที่ CHI65-A05
- สถานพยาบาลนอกโครงการ
- สถานพยาบาลของรัฐ เบิกผ่านสกส. ระบบ SSOP ตามแนวปฏิบัติเลขที่ CHI65-A06
- สถานพยาบาลของเอกชน (ต้องขออนุญาติ สปส. ก่อน) เบิกผ่านสกส. ระบบ SSOP ตามแนวปฏิบัติเลขที่ CHI65-A06
- ค. กรณี Home Isolation และ Community Isolation
- 1.สถานพยาบาลของรัฐและเอกชนในโครงการ เบิกผ่านสกส. โปรแกรม SIP09 ตามแนวปฏิบัติเลขที่ CHI65-A07
- 2.สถานพยาบาลเอกชนนอกโครงการ (ต้องขออนุญาติ สปส. ก่อน) เบิกผ่านสกส. โปรแกรม SIP09 ตามแนวปฏิบัติเลขที่ CHI65-A07
- ง. กรณีรักษาผู้ป่วยใน ใน Hospitel
- สถานพยาบาลของรัฐและเอกชนในโครงการ เบิกผ่านสกส. โปรแกรม SIP09 ตามแนวปฏิบัติเลขที่ CHI65-A08
- สถานพยาบาลเอกชนนอกโครงการ (ต้องขออนุญาติ สปส. ก่อน) เบิกผ่านสกส. โปรแกรม SIP09 ตามแนวปฏิบัติเลขที่ CHI65-A08 *หากเบิกผ่านโปรแกรม SIP09 ไม่ได้ ให้รอแนวปฏิบัติต่อไป
- จ. กรณีรักษาผู้ป่วยใน ในสถานพยาบาลของรัฐและเอกชน
- กรณีผู้ป่วยกลุ่มสีเขียว
- สถานพยาบาลของรัฐและเอกชนในโครงการ เบิกผ่านสกส. โปรแกรม SIP09 ตามแนวปฏิบัติเลขที่ CHI65-A09
- สถานพยาบาลเอกชนนอกโครงการ (ต้องขออนุญาติ สปส. ก่อน) เบิกผ่านสกส. โปรแกรม SIP09 ตามแนวปฏิบัติเลขที่ CHI65-A09
- กรณีผู้ป่วยกลุ่มสีเหลือง/แดง
- สถานพยาบาลของรัฐ เบิกผ่านสกส. โปรแกรม SIP09 ตามแนวปฏิบัติเลขที่ CHI65-A09
- สถานพยาบาลเอกชน เบิกผ่านระบบ UCEP Plus
- กรณีผู้ป่วยกลุ่มสีเขียว
- แนวทางการบันทึกข้อมูลเบิกค่ารักษาพยาบาลผู้ป่วย COVID-19 กรณี โรงพยาบาลสนาม Hotel Isolation และปรับปรุงกรณี Hospitel ตามประกาศสำนักงานประกันสังคม ว2537 ลงวันที่ 11 มี.ค. 65
แนวทางการบันทึกข้อมูลเบิกค่ารักษาพยาบาลผู้ป่วย COVID กรณี ดูแลรักษาผู้ป่วยใน Hospitel สำหรับสถานพยาบาลของรัฐและสถานพยาบาลเอกชนตามประกาศคณะกรรมการการแพทย์ฯ สำนักงานประกันสังคม ลงวันที่ 29 เม.ย. 65
แนวทางการบันทึกข้อมูลเบิกค่ารักษาพยาบาลผู้ป่วย COVID การปรับอัตราค่ารักษา ตามประกาศกรมบัญชีกลาง ว540 ลงวันที่ 8 มิ.ย. 2565
แนวทางการบันทึกข้อมูลเบิกค่ารักษาพยาบาลผู้ป่วย COVID การปรับอัตราค่ารักษา ตามประกาศกรมบัญชีกลาง ว 805 ลงวันที่ 12 ก.ค. 2565
แนวทางการบันทึกข้อมูลเบิกค่ารักษาพยาบาลผู้ป่วย COVID ตามประกาศสำนักงานประกันสังคม ว7007 ลงวันที่ 12 ก.ค. 65
รวมเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการผป.โควิด 19 และแนวทางการจ่ายชดเชย ของสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.)
- รวมแนวทางการจ่าย โควิด 19 link
- รหัส C และแนวทางแก้ไข link
- รหัส V และแนวทางแก้ไข link
- การเตรียมเอกสารเพื่อขอทบทวน link
- การจัดบริการ Home Isolation กรมการแพทย์ link
- รหัสเบิก COVID19 link
- CPG COVID19 วันที่ 2 พฤศจิกายน 2564 link
- กรมการแพทย์ CPG COVID19 วันที่ 3 มีนาคม 2565 link
- ชี้แจงแนวทางการตรวจสอบ OP self isolation HI CI link
- การพิสูจน์ตัวตนในการขอ Authentication Code link
- อ.กฤติยา_ชี้แจงหน่วยบริการ การจ่ายชดเชยโควิด 19 _3มีค6 link
- Final_แบบบันทึกเวชระเบียนOP_Self isolation_25650302 link
- คู่มือสำหรับหน่วยบริการแนบไฟล์ PPFS_VA_CO link
- การบันทึกข้อมูลกรณีโรคโควิด 19 ในระบบ e-Claim link
- OP self ร้านยา link
- โปรแกรม e-Claim สำหรับ OP self ร้านยา link
- AMED SI link
- แนวทางตรวจสอบ OP Self link
- การขึ้นทะเบียนและการทำสัญญา link
กฏเกณฑ์และเงื่อนไขที่มีสิทธิได้รับเงินประจำตำแหน่ง
กฏเกณฑ์และเงื่อนไขในการรับเงินประจำตำแหน่งสำหรับตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการและระดับทรงคุณวุฒิ ที่มีประสบการณ์ ทักษะ และสมรรถนะ สำหรับตำแหน่งในสายงานที่ ก.พ. กำหนดให้มีสิทธิได้รับเงินประจำตำแหน่ง
ด้วย ก.พ. ได้กำหนดหลักเกณฑ์และเงื่อนไขในการรับเงินประจำตำแหน่งสำหรับตำแหน่งประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการ และระดับทรงคุณวุฒิ ที่มีประสบการณ์ ทักษะ และสมรรถนะ สำหรับตำแหน่งในสายงานที่ ก.พ. กำหนดให้มีสิทธิได้รับเงินประจำตำแหน่ง ให้มีความเหมาะสมและสอดคล้องกับระบบการกำหนดตำแหน่งในปัจจุบัน ก.พ. จึงยกเลิกหลักเกณฑ์และเงื่อนไขในการรับเงินประจำตำแหน่งตามหนังสือสำนักงาน ก.พ. ที่ นร ๑00’๖/ว ๑๘ ลงวันที่ ๑๑ ธันวาคม ๒๕๕๑ และอาศัยอำนาจตามมาตรา ๕๐ วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติระเบียบข้าราชการพลเรือน พ.ศ. ๒๕๕๑ ประกอบกฎ ก.พ. ว่าด้วยการให้ข้าราชการพลเรือนสามัญได้รับเงินประจำตำแหน่ง พ.ศ. ๒๕๕๑ จึงได้กำหนดหลักเกณฑ์ เงื่อนไข ในการรับเงินประจำตำแหน่งสำหรับประเภทวิชาการ ระดับชำนาญการ และระดับทรงคุณวุฒิ สำหรับตำแหน่งในสายงานที่ ก.พ. กำหนด ให้มีสิทธิได้รับเงินประจำตำแหน่ง ตามหนังสือที่อ้างถึง ดังนี้
๑. แบบประเมินศักยภาพบุคคล กรณีการรับเงินประจำตำแหน่งสำหรับตำแหน่งประเภทวิชาการระดับชำนาญการ ในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข
๒. แบบคำสั่งให้ได้รับเงินประจำตำแหน่ง กรณีที่ประเมินรับเงินประจำตำแหน่ง
๓. แบบคำสั่งเลื่อนข้าราชการและให้ได้รับเงินประจำตำแหน่ง กรณีผ่านการประเมินเพื่อเลื่อนขึ้นแต่งตั้งให้ดำรงตำแหน่งระดับชำนาญการในสายงานที่มีสิทธิได้รับเงินประจำตำแหน่ง
การยืนยันโรคเรื้อรัง สิทธิประกันสังคม
แจ้งการเปลี่ยนแปลงวิธีการ ผู้ป่วยยืนยันโรคเรื้อรัง 26 โรค ซึ่งมีขั้นตอนดังนี้
- ขั้นตอนการจัดทำบัญชีโรคเรื้อรัง
- การค้นหาผู้ป่วยโรคเรื้อรัง
- การแจ้ง cases ที่เข้าข่ายโรคเรื้อรัง
- การยืนยันบัญชีโรคเรื้อรัง
- การทักท้วงบัญชีโรคเรื้อรัง
รับชุดตรวจATKฟรี
รับชุดตรวจ ATK ฟรีผ่านแอปฯ เป๋าตัง ทำยังไง?
คุณสมบัติผู้มีสิทธิ
- สัญชาติไทย
- อายุ 18 ปีบริบูรณ์ ณ วันลงทะเบียน
- มีเลขบัตรปชช. 13 หลัก
- เคยเข้าร่วมโครงการรัฐ ผ่าน เป๋าตัง
- หากยังไม่เคยเข้าร่วม ให้ยืนยันตนที่ ATM /ธ.กรุงไทย