แบบประเมินเพิ่มประสิทธิภาพการเงินการคลัง (มิติด้านจัดเก็บรายได้ค่ารักษาพยาบาล)

แบบประเมินเพิ่มประสิทธิภาพการเงินการคลัง
(มิติด้านจัดเก็บรายได้ค่ารักษาพยาบาล)
จากระบบประเมินประสิทธิภาพ
ระบบควบคุมภายในด้วยอิเล็กทรอนิกส์ 5 มิติ EIA

ประเด็นประเมินหัวข้อประเมินผลการตรวจสอบรายละเอียดประกอบ/เอกสารที่ต้องมีช่วงเวลา
๑. จัดตั้งงานเรียกเก็บค่ารักษาพยาบาล(ตามหนังสือด่วนที่สุดที่ สธ ๐๒๐๑.๐๓๒/ ว ๑๗๐๗ ลงวันที่ ๑๔ มิ.ย. ๒๕๖๐)๑.๑ มีคำสั่ง หรือ มอบหมายหน้าที่ผู้รับผิดชอบงาน Audit Chart เพื่อตรวจสอบความถูกต้องของเวชระเบียน – คำสั่ง หรือ มอบหมายหน้าที่ผู้รับผิดชอบ ณ ปัจจุบัน
๑.๒ มีคำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการจัดเก็บค่ารักษาพยาบาลของหน่วยงาน– คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการจัดเก็บค่ารักษาพยาบาลที่เป็นปัจจุบันณ ปัจจุบัน
๒. การบันทึกข้อมูลการเรียกเก็บเงินค่ารักษาพยาบาล๒.๑ การบันทึกข้อมูลผู้ป่วยนอก (OPD) สิทธิจ่ายตรงกรมบัญชีกลาง – เวชระเบียนผู้ป่วยนอก (OPD) จำนวน ๑๐ ราย – รายละเอียดข้อมูลเรียกเก็บที่จัดส่งให้กรมบัญชีกลาง (รายละเอียดข้อ ๑ กับข้อ ๒ สอดคล้องกัน)ตุลาคม – ธันวาคม ๒๕๖๕
๒.๒ การบันทึกข้อมูลผู้ป่วยใน (IPD) สิทธิจ่ายตรงกรมบัญชีกลาง– เวชระเบียนผู้ป่วยใน (IPD) จำนวน ๑๐ ราย รายละเอียดข้อมูลเรียกเก็บที่จัดส่งให้กรมบัญชีกลาง (รายละเอียดข้อ ๑ กับข้อ ๒ สอดคล้องกัน)ตุลาคม – ธันวาคม ๒๕๖๕
๒.๓ ผู้รับผิดชอบจัดเก็บรายได้ส่งรายงานค่ารักษาพยาบาลผู้ป่วยนอก (OPD) ผู้ป่วยใน (IPD) สิทธิจ่ายตรงกรมบัญชีกลาง ให้กับงานบัญชี– เอกสาร หรือ หลักฐานการนำส่ง งานบัญชีที่มีลายมือชื่อผู้รับรองข้อมูลรายได้ค่ารักษาพยาบาลของหน่วยงานเดือนพฤศจิกายน ๒๕๖๕
๒.๔ รายงานสรุปผลการจัดเก็บค่ารักษาพยาบาลผู้ป่วยใน (IPD) และผู้ป่วยนอก (OPD) สิทธิกรมบัญชีกลาง– บันทึกรายงานสรุปผลการจัดเก็บค่ารักษาพยาบาลผู้ป่วยใน (IPD) และผู้ป่วยนอก (OPD) สิทธิกรมบัญชีกลาง ประจำเดือนเสนอหัวหน้าหน่วยงานเดือนพฤศจิกายน ๒๕๖๕
๓. กระบวนการเร่งรัดติดตามการเรียกเก็บรายได้ค่ารักษาพยาบาล๓.๑ กำหนดผู้รับผิดชอบด้านการเร่งรัดติดตามหนี้ค้างชำระและผู้รับผิดชอบการรับชำระหนี้ แยกออกจากกัน – เอกสารมอบหมายหน้าที่ความรับผิดชอบล่าสุด (ที่มีการเรียกเก็บ)
๓.๒ มีการเร่งรัดติดตามการชำระหนี้เป็นลายลักษณ์ อักษรชัดเจน– หนังสือเร่งรัดการติดตามการชำระหนี้หน่วยงานภายนอก หรือบุคคลภายนอก หรือกองทุนต่างๆณ ปัจจุบัน