คู่มือผู้ใช้สิทธิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติสำหรับพระภิกษุ สามเณร แม่ชี (พ.ศ. 2566)

0 0
Read Time:42 Second

คู่มือผู้ใช้สิทธิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติสำหรับพระภิกษุ สามเณร แม่ชี (พ.ศ. 2566)

รัฐบาลจัดให้มี “กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ” เพื่อเป็นค่าใช้จ่าย ในการดูแลรักษาสุขภาพและเป็นค่าบริการสาธารณสุขช่วยให้คนไทย ทุกเพศ ทุกวัย ทุกสถานะสามารถเข้าถึงบริการด้านการแพทย์และสาธารณสุข เพื่อการสร้างเสริมสุขภาพ การป้องกันโรคการตรวจวินิจฉัยโรค การรักษาพยาบาล และการฟื้นฟูสมรรถภาพที่จำเป็นต่อสุขภาพ และการดำรงชีวิตตาม พ.ร.บ.หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ พ.ศ. 2545 โดยมีสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ(สปสช.) ทำหน้าที่บริหารกองทุนตามหลักเกณฑ์ของคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ซึ่งมีรัฐมนตรีว่าการกระทรวงสาธารณสุขเป็นประธานกรรมการฯ

Happy
0 0 %
Sad
0 0 %
Excited
0 0 %
Sleepy
0 0 %
Angry
0 0 %
Surprise
0 0 %

ชี้แจงกรณี เจ็บป่วยฉุกเฉินวิกฤตมีสิทธิทุกที่ สิทธิUC

0 0
Read Time:46 Second

ชี้แจงหลักเกณฑ์ วิธีการ เงื่อนไขการจ่ายค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข กรณีบริการฉุกเฉินภาครัฐ ในวันที่ 24 เมษายน 2566 เวลา 09.00 – 12.00 น.

  • แนวทางการดำเนินการ กรณีอุบัติเหตุหรือเจ็บป่วยฉุกเฉิน ตามนโยบาย “เจ็บป่วยฉุกเฉินวิกฤตมีสิทธิทุกที่” ในหน่วยบริการภาครัฐ นายแพทย์เติมชัย เต็มยิ่งยง ผู้ช่วยเลขาธิการ สปสช.
  • หลักเกณฑ์การเรียกเก็บค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุข กรณี UCEP ภาครัฐ
  • การบันทึกข้อมูลเพื่อเรียกเก็บค่าใช้จ่ายในโปรแกรม e-Claim ฝ่ายบริหารหารการจัดสรรและชดเชยค่าบริการ ฝ่ายพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศดิจิทัล
  • แนวทางการตรวจสอบเวชระเบียน
Happy
0 0 %
Sad
0 0 %
Excited
0 0 %
Sleepy
0 0 %
Angry
0 0 %
Surprise
0 0 %

แจ้งเปลี่ยนระบบการส่งข้อมูลPP Fee Schedule

0 0
Read Time:2 Minute, 54 Second

แจ้งเปลี่ยนระบบการส่งข้อมูลเรียกเก็บค่าใช้จ่ายกรณีบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคที่จ่ายตามรายการบริการ (PP Fee Schedule) ผ่านระบบ Krungthai Digital Health Platform (KDHP/KTB)

สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) ได้กำหนดให้หน่วยบริการส่งข้อมูลเรียกเก็บค่าใช้จ่ายกรณีบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคที่จ่ายตามรายการบริการ (PP Fee Schedule) เพื่อรับค่าใช้จ่ายในระบบ e-Claim และ NPRP นั้น ทั้งนี้ เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการรับส่งข้อมูลและการประมวลผลในการจ่ายค่าใช้จ่ายฯดังกล่าว สปสช.จึงได้มีการพัฒนาระบบเพื่อรองรับการเบิกจ่ายค่าใช้จ่ายกรณีบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคที่มีการจ่ายตามรายการบริการ (PP Fee Schedule) จำนวน ๑๖ รายการผ่านระบบ Krungthai Digital Health Platform (KDHP/KTB)

เพื่อให้การรับค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุขกรณีบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคที่จ่ายตามรายการบริการ (PP Fee Schedule) เป็นไปด้วยความเรียบร้อย มีประสิทธิภาพ สปสช. จึงขอแจ้งกำหนดการเปลี่ยนระบบการส่งข้อมูลเรียกเก็บค่าใช้จ่ายกรณีบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคที่จ่ายตามรายการบริการ (PP Fee Schedule) ผ่านระบu Krungthai Digital Health Platform (KDHP/KTB) ตั้งแต่วันที่ ๑๗ เมษายน ๒๕๖๖ เป็นต้นไป โดยมีรายละเอียดการดำเนินการที่สำคัญ ดังนี้

  • ให้หน่วยบริการเร่งรัดส่งข้อมูลการให้บริการก่อนวันที่ ๑๗ เมษายน ๒๕๖๖ เพื่อเรียกเก็บค่าใช้จ่ายผ่านระบบ e-Claim/NPRP ภายในวันที่ ๑๖ เมษายน ๒๕๖๖
  • ๒) ข้อมูลการบริการตั้งแต่วันที่ ๑๙ เมษายน ๒๕๖๖ และข้อมูลที่ให้บริการก่อนวันที่ ๑๗ เมษายน ๒๕๖๖ แต่ไม่สามารถส่งข้อมูลเรียกเก็บค่าใช้จ่ายผ่านระบบ e-Claim/NPRP (ตามข้อ ๑) ได้ทันเวลาที่กำหนด สามารถส่งข้อมูลเรียกเก็บค่าใช้จ่ายผ่านระบบ KTB

ทั้งนี้ ได้มีการประชุมชี้แจงแนวทางการรับค่าใช้จ่ายฯ กรณีดังกล่าวให้แก่หน่วยบริการเรียบร้อยแล้ว รวมทั้งได้เปิดให้มีการทดสอบระบบบันทึกข้อมูลผ่านโปรแกรมดังกล่าว โดยหน่วยบริการสามารถดาวน์โหลดคู่มือการใช้งานโปรแกรม Krungthai Digital Health Platform (KDHP/KTB) ได้ที่ http://eclaim.nhso.go.th หากมีข้อสงสัยประการใด สามารถติดต่อสอบถามข้อมูลเพิ่มเติมได้ที่ Provider center หมายเลขโทรศัพท์ 02-554-0505

รายการบริการ PP FS ที่บิกผ่านระบบ Krungthai Digital Health Platform (KDHP/KTB) ตั้งแต่วันที่ ๑๗ เมษายน ๒๕๖๖ เป็นต้นไป

  • ๑.บริการฝากครรภ์
  • ๒.บริการการป้องกันและควบคุมโรคโลหิตจางธาลัสซีเมียในหญิงตั้งครรภ์
  • ๓.บริการป้องกันและควบคุมกลุ่มอาการดาวน์ในหญิงตั้งครรภ์
  • ๔.บริการการคัดกรองธาลัสซีเมียและการคัดกรองซิฟิลิสในสามีหรือคู่ของหญิงตั้งครรภ์
  • ๕.การทดสอบการตั้งครรภ์
  • ๖.การตรวจหลังคลอด
  • ๗.บริการคัดกรองรอยโรคเสี่ยงมะเร็งและมะเร็งช่องปาก (CA Oral Screening)
  • ๘.บริการการตรวจคัดกรองมะเร็งปากมดลูก
  • ๙.บริการตรวจคัดกรองมะเร็งลำไส้ใหญ่และลำไส้ตรง (Fit test)
  • ๑๐.บริการเคลือบฟลูออไรด์ (กลุ่มสี่ยง)
  • ๑๑.บริการคัดกรองโลหิตจางจากการขาดธาตุเหล็ก
  • ๑๒.บริการยาเม็ดเสริมธาตุเหล็กและกรดโฟลิก
  • ๑๓.บริการวางแผนครอบครัวและการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พึงประสงค์
  • ๑๔.บริการป้องกันการยุติการตั้งครรภ์ที่ไม่ปลอดภัย
  • ๑๕.บริการคัดกรองและประเมินปัจจัยเสี่ยงต่อสุขภาพกาย/สุขภาพจิต
  • ๑๖.บริการแว่นตาเด็กที่มีสายตาผิดปกติ

เอกสารที่เกี่ยวข้อง

Happy
0 0 %
Sad
0 0 %
Excited
0 0 %
Sleepy
0 0 %
Angry
0 0 %
Surprise
0 0 %

VDO แนะนำการใช้งานระบบ Krungthai Digital Health Platform

0 0
Read Time:1 Minute, 21 Second

1.Krungthai Digital Health Platform Journey

2.สิ่งที่ต้องเตรียมก่อนใช้งานระบบ Hospital Portal

3.กระเป๋าสุขภาพ (Health Wallet)

4.การเข้าใช้งานระบบ Hospital Portal

5.ตั้งค่าวัน_เวลาหน่วยบริการ จัดการหน่วยตรวจ

6.จัดการตารางวัน_เวลา ให้บริการกิจกรรม

7.จัดการโควตา สำหรับหน่วยบริการแม่ข่าย

8.รายชื่อเจ้าหน้าที่ (ทันตแพทย์)

9.ตั้งค่าการเคลม

10.กำหนดสิทธิผู้ใช้งาน

11.จัดการตารางจองกิจกรรมและโควตา (slot)

12.จัดการกิจกรรม ถุงยางอนามัยคุมกำเนิด C02

13.ลบหน่วยตรวจ

14.ขั้นตอนการลง MOI Agent

15.ขั้นตอนการยืนยันตัวตนรับบริการ

16.บันทึกการรับบริการย้อนหลัง

17.บันทึกข้อมูลการให้บริการ

18.นำเข้าข้อมูลผลการรักษา (upload 16 แฟ้ม)

19.ตรวจสอบสิทธิ ดูประวัติ จัดการนัดหมาย (ข้อมูลผู้รับบริการ รายบุคคล)

20.ตรวจสอบนัดหมาย รับบริการ คืนสิทธิกิจกรรม (ภาพรวมหน่วยบริการ)

21.ขั้นตอนนำส่งใบเบิกจ่าย

22.การเรียกดูรายงาน

Happy
0 0 %
Sad
0 0 %
Excited
0 0 %
Sleepy
0 0 %
Angry
0 0 %
Surprise
0 0 %

ชี้แจงแนวทางPP Fee Schedule KTB

0 0
Read Time:1 Minute, 18 Second

ชี้แจงแนวทางการบันทึกข้อมูลขอรับค่าใช้จ่ายกรณีบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรคที่จ่ายตามรายการบริการ (PP Fee Schedule) ผ่านระบบโปรแกรม Krungthai Digital Health Platform (KDHP/KTB)

กำหนดการ

  • นโยบายการปรับเปลี่ยนโปรแกรมการบันทึกและการประมวลผลจ่ายผ่านระบบ Krungthai Digital Health Platform (KDHP/KTB) โดย ทันตแพทย์อรรถพร ลิ้มปัญญาเลิศ รองเลขาธิการสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
  • แนวทางการจ่ายชดเชยค่าบริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค ที่จ่ายตามรายการบริการ (PP FS) ปีงบประมาณ ๒๕๖๖ โดย ผู้แทนจากฝ่ายบริหารการจัดสรรและชดเชยค่าบริการ
  • การพิสูจน์ตัวตนก่อนการเข้ารับบริการผ่านโปรแกรม KTB (Authentication) โดย ทีม KTB
  • การเข้าใช้งานโปรแกรม การบันทึกผลงานบริการ และการประมวลผลจ่ายผ่านโปรแกรม KTB โดย ทีม KTB
  • อภิปรายและซักถาม

วันที่ 3 เมย.66_สำหรับ_โรงพยาบาล

วันที่ 4-5 เมย.66_สำหรับ_รพสต-คลินิก

วันที่ 5 เมย.66_สำหรับ_ร้านยา เท่านั้น

VDO แนะนำการใช้งานระบบ Krungthai Digital Health Platform

Happy
0 0 %
Sad
0 0 %
Excited
0 0 %
Sleepy
0 0 %
Angry
0 0 %
Surprise
0 0 %

ชี้แจงแนวทางเบิกจ่ายสำหรับรพ.สต.ถ่ายโอน

0 0
Read Time:2 Minute, 42 Second

การประชุมชี้แจงการเบิกจ่ายค่าบริการสาธารณสุขสำหรับหน่วยบริการ รพ.สต./ สอน.ที่ถ่ายโอนภารกิจไปยัง อบจ. ในเขตพื้นที่ สปสช. เขต 7 ขอนแก่น วันพฤหัสบดีที่ 16 มีนาคม พ.ศ. 25666 เวลา 08.30 – 16.30 น.ณ ห้องประชุมสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต 7 ขอนแก่น

กล่าวต้อนรับผู้เข้าร่วมประชุม และทิศทางนโยบายการบริหารจัดการกองทุน สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ โดย นายแพทย์ดุสิต ขำชัยภูมิ ผู้อำนวยการสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เขต ๗ ขอนแก่น
ภาพรวมการจัดการกองทุน สปสช. การเชื่อมโยง ระบบบริการปฐมภูมิ การดำเนินงานที่เกี่ยวข้องกับ รพ.สต. การจัดทำ MOU โดย นายวีระศักดิ์ ชนะมาร ผู้อำนวยการกลุ่มจังหวัดร้อยเอ็ด มหาสารคาม

ชี้แจงหลักเกณฑ์เงื่อนไขการเรียกเก็บค่าใช้จ่ายบริการสาธารณสุข ตามผลงานการบริการบริการแพทย์แผนไทย, บริการ PP Fee schedule โดย คุณภาคภูมิ คนรู้ นักวิชาการหลักประกันสุขภาพ คุณธัญญ์นิธิ วีรพัฒน์โสภณ นักวิชาการหลักประกันสุขภาพ

งบค่าบริการทางแพทย์ที่เบิกจ่ายในลักษณะงบลงทุน (ค่าเสื่อม) โดย คุณพชระ น้อยสมบัติ นักวิชาการหลักประกันสุขภาพ

การจัดสรรงบเหมาจ่ายรายหัว OP PP, บริการผู้ป่วยนอกเหตุสมควร (OP Anywhere) , บริการผู้ป่วยนอกอุบัติเหตุฉุกเฉินข้ามจังหวัด , สิทธิการรักษา อปท. โดย คุณนาฏญา สังขวัฒน์ ผู้จัดการกลุ่มภารกิจ และคุณนุจรินทร์ เนื่องสมศรี นักบริหารกองทุน

การยืนยันตัวตนในการเข้ารับบริการ ระบบ Authen โดย คุณพชระ น้อยสมบัติ นักวิชาการหลักประกันสุขภาพ

การขอเข้าใช้โปรแกรม Username password โดย คุณณัฐพล ชัยศิริถาวรกุล นักวิชาการหลักประกันสุขภาพ

โปรแกรม Moph Claim โดย คุณภาวิกา ภัทรธิชาสกุล นักวิชาการหลักประกันสุขภาพ

การส่งข้อมูลเบิกชดเชยค่าบริการ eClaim ออนไลน์ โดย คุณสุฑารัตน์ สัตตะวุธ นักวิชาการหลักประกันสุขภาพ

การจัดทำข้อมูลยามาตรฐาน Drug catalogue โดย ภญ.ญาศินี ตั้งวงษ์ นักวิชาการหลักประกันสุขภาพ

โปรแกรม KTB โดย ภญ.ญาศินี ตั้งวงษ์ นักวิชาการหลักประกันสุขภาพ

ระบบการตรวจสอบ audit โปรแกรม Audit PP โดย ภญ.ญาศินี ตั้งวงษ์ นักวิชาการหลักประกันสุขภาพ

การตรวจสอบการได้รับงบประมาณ รายงานการโอนงบประมาณ Smart Money Transfer , รายงาน Statement ,การส่งใบเสร็จ โดย คุณสุฑารัตน์ สัตตะวุธ นักวิชาการหลักประกันสุขภาพ

ระบบ Monitor ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง แนะนำองค์กรและการประสานงาน โดย คุณอภิศักดิ์ เข็มพิลา ผู้จัดการกลุ่มภารกิจ

Happy
0 0 %
Sad
0 0 %
Excited
0 0 %
Sleepy
0 0 %
Angry
0 0 %
Surprise
0 0 %

คู่มือผู้ใช้สิทธิบัตรทอง ปี2566

0 0
Read Time:54 Second

คู่มือผู้ใช้สิทธิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ สำหรับประชาชน ปี 2566

  • คุณสมบัติของผู้มีสิทธิบัตรทอง
  • ตรวจสอบสิทธิด้วยตนเอง
  • ช่องทางลงทะเบียนเลือกหน่วยบริการประจำ
  • เอกสารที่ใช้ลงทะเบียนเลือกหนว่ยบริการประจำ
  • หน่วยบริการ คืออะไร
  • การใช้สิทธิรับบริการสาธารณสุข
  • การบริการที่คุ้มครอง ครอบคลุมบริการที่จำป็นต่อสุขภาพและการดำรงชีวิต
  • ช่องทางติดต่อสอบถามมีปัญหา
  • ใช้สิทธิบัตรทอง ร้องเรียน ร้องทุกข์
  • บริการสร้างเสริมสุขภาพและป้องกันโรค*
  • การรักษาพยาบาล โรคเรื้อรังและโรคค่าใช้จ่ายสูง
  • บริการสาธารณสุขรูปแบบใหม่
  • 4 นโยบายยกระดับบัตรทองสู่หลักประกันสุขภาพยุคใหม่
  • สปสช. ดูแลสุขภาพผู้สูงวัย
  • สิทธิการขอรับเงินช่วยเหลือเบื้องต้น
  • รู้จัก…กองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น (กปท.)
  • ใครบ้างมีสิทธิขอรับการสนับสนุนจากกองทุนหลักประกันสุขภาพท้องถิ่น (กปท.)
  • แผนที่แสดงการจัดพื้นที่ในความรับผิดชอบของ สปสช. เขต 1-13
  • ที่อยู่และการติดต่อสปสช. เขต 1-13
Happy
0 0 %
Sad
0 0 %
Excited
0 0 %
Sleepy
0 0 %
Angry
0 0 %
Surprise
0 0 %

เอกสารชี้แจงการชดเชย กรณีบริการถุงยางอนามัย

0 0
Read Time:1 Minute, 1 Second

การประชุมชี้แจงแนวทางการขอรับการชดเชย กรณีบริการถุงยางอนามัยในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2566
ผ่านระบบโปรแกรม Krungthai Digital Health Platform (KDHP/KTB)
วันจันทร์ ที่ 30 มกราคม 2566 เวลา 13.30 น. – 16.30 น.
ผ่านระบบห้องประชุมอิเล็กทรอนิกส์ (Zoom meeting)
และผ่านระบบ Facebook lives สปสช.

  • เปิดการประชุม โดย ทันตแพทย์อรรถพร ลิ้มปัญญาเลิศ รองเลขาธิการสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ
  • การบริหารจัดการและการขอรับการชดเชยถุงยางอนามัยในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ โดย คุณธวัชชัย เรืองโรจน์ ผู้อำนวยการฝ่ายบริหารการจัดสรรและชดเชยค่าบริการ
  • แนวทางการขอรับค่าใช้จ่าย กรณีบริการถุงยางอนามัยในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ โดย คุณโยธิน ถนอมวัฒน์ ผู้เชี่ยวชาญ ฝ่ายบริหารการจัดสรรและชดเชยค่าบริการ
  • แนวทางการกระจายและจัดสรรถุงยางอนามัยผ่านระบบ Pool PO โดย คุณจิโรจน์ นาคไพจิตร ผู้จัดการกอง ฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศการเบิกจ่ายกองทุน
  • การพิสูจน์ตัวตนก่อนการเข้ารับบริการผ่านโปรแกรม KTB (Authentication) การเข้าใช้งานโปรแกรม การบันทึกผลงานบริการ และการประมวลผลจ่ายผ่านโปรแกรม KTB โดย ทีม KTB
  • อภิปรายและซักถาม
  • ปิดการประชุม
Happy
0 0 %
Sad
0 0 %
Excited
0 0 %
Sleepy
0 0 %
Angry
0 0 %
Surprise
0 0 %

คู่มือการบันทึกข้อมูล IMC IP

0 0
Read Time:12 Second

การบันทึกข้อมูลขอรับค่าใช้จ่ายผ่านระบบโปรแกรม e-Claim
กรณีให้บริการดูแลผู้ป่วยระยะกลางแบบผู้ป่วยใน
ในลักษณะ Intermediate care ward หรือ Intermediate care bed
ปีงบประมาณ 2566

Happy
0 0 %
Sad
0 0 %
Excited
0 0 %
Sleepy
0 0 %
Angry
0 0 %
Surprise
0 0 %

ชี้แจงการดูแลแบบผู้ป่วยในที่บ้าน (Home ward) ปีงบประมาณ ๒๕๖๖

0 0
Read Time:1 Minute, 20 Second

ประชุมชี้แจงการบันทึกข้อมูลขอรับค่าใช้จ่ายผ่านโปรแกรม e-Claim ร่วมกับการใช้โปรแกรมรายงานข้อมูลติดตามสุขภาพประจำวัน (โปรแกรม AMED) กรณีการดูแลแบบผู้ป่วยในที่บ้าน (Home ward) ปีงบประมาณ 2566

วาระประชุม

  • ๑๓.๐๐ – ๑๓.๑๕ น. – ชี้แจงวัตถุประสงค์การประชุม และกล่าวเปิดการประชุม โดย นายธวัชชัย เรืองโรจน์ ผู้อำนวยการฝ่ายบริหารการจัดสรรและชดเชยค่าบริการ
  • ๑๓.๑๕ – ๑๓.๓๐ น. – หลักเกณฑ์ เงื่อนไข วิธีการ ขอรับค่าใช้จ่ายกรณีบริการดูแลแบบผู้ป่วยในที่บ้าน โดย นางสาวมนัสนีย์ รัตนเมธีนนท์ นักบริหารงาน ฝ่ายบริหารการจัดสรรและชดเชยค่าบริการ
  • ๑๓.๓๐ – ๑๔.๐๐ น. – แนวทางการตรวจสอบการจ่ายชดเชยและคุณภาพบริการ กรณีบริการดูแลแบบ ผู้ป่วยในที่บ้าน โดย ฝ่ายตรวจสอบการจ่ายชดเชยและคุณภาพบริการ
  • ๑๔.๐๐ – ๑๔.๒๐ น. – การบันทึกข้อมูลผ่านระบบ e-Claim เพื่อขอรับค่าใช้จ่ายกรณีบริการดูแลแบบผู้ป่วย ในที่บ้าน โดย นางเดือนเพ็ญ คำมา ผู้เชี่ยวชาญฝ่ายเทคโนโลยีสารสนเทศการเบิกจ่ายกองทุน
  • ๑๔.๒๐ – ๑๕.๓๐ น. – การใช้งานระบบบริการดูแลต่อเนื่องผู้ป่วยที่บ้าน (DMS Home ward) โดย ดร.กิตติ วงศ์ถาวราวัฒน์ และทีม รก.ผู้อำนวยการหน่วยวิจัยนวัตกรรมไร้สายและความมั่นคง กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.)
  • ๑๕.๓๐ – ๑๖.๐๐ น. – อภิปราย ซักถาม และปิดการประชุม

เอกสารประกอบการประชุม

Happy
0 0 %
Sad
0 0 %
Excited
0 0 %
Sleepy
0 0 %
Angry
0 0 %
Surprise
0 0 %
Exit mobile version