การบริหารจัดการด้านสุขภาพของแรงงานต่างด้าวและคนต่างด้าวในประเทศไทย

0 0
Read Time:2 Minute, 43 Second

การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของคนต่างด้าวในการดูแลสุขภาพตนเอง/ชุมชนและการป้องกันการค้ามนุษย์
ระหว่างวันที่ ๒๖ – ๒๗ มกราคม ๒๕๖๖ เวลา ๐๘.๓๐ – ๑๖.๓๐ น.
ณ โรงแรมอมารี ดอนเมือง แอร์พอร์ต กรุงเทพฯ

กำหนดการ วันพฤหัสบดี ที่ ๒๖ มกราคม ๒๕๖๖

  • กล่าวรายงาน โดย นพ.กรกฤช ลิ้มสมมุติ ผู้อำนวยการกองบริหารการสาธารณสุข
  • กล่าวเปิดและบรรยายพิเศษ : นโยบายการดำเนินงานและการบริหารจัดการด้านสุขภาพของแรงงานต่างด้าวและคนต่างด้าวในประเทศไทย โดย นพ.ณรงค์ อภิกุลวณิช รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข

การอภิปราย : การเข้าถึงบริการของรัฐของคนต่างด้าว และการป้องกันการค้ามนุษย์การจัดการและการสร้างเครือข่ายเพื่อช่วยเหลือด้านสิทธิสวัสดิการแรงงานต่างด้าว

  • กฎหมายเกี่ยวกับสัญชาติและสิทธิ สถานการณ์ ปัญหาสถานะบุคคลและสัญชาติและการแก้ไขปัญหาคนต่างด้าว โดย นายวรพงศ์ จันทร์มานะเจริญ เจ้าพนักงานปกครองชำนาญการพิเศษ สำนักบริหารการทะเบียน กรมการปกครอง กระทรวงมหาดไทย
  • การบริหารจัดการการทำงานของคนต่างด้าว และการคุ้มครองสิทธิแรงงานต่างด้าว โดย นายพงศ์เทพ เพชรโสม ผู้อำนวยการกองคุ้มครองแรงงาน กรมสวัสดิการและคุ้มครองแรงงาน
  • การปฏิบัติตามหลักสิทธิมนุษยชนแรงงานต่างด้าว และการช่วยเหลือกรณีผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์ โดย นางสาววันดี ตรียศสิน ผู้อำนวยการสถานคุ้มครองสวัสดิภาพผู้เสียหายจากการค้ามนุษย์จังหวัดปทุมธานี กองต่อต้านการค้ามนุษย์ สำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ ดำเนินรายการโดย นายอดิศร เกิดมงคล เครือข่ายองค์กรด้านประชากรข้ามชาติ (MWG : Migrant Working Group)

การอภิปราย : การบริหารจัดการด้านสุขภาพของแรงงานต่างด้าวและคนต่างด้าว ดำเนินรายการโดย ดร.บุญวรา สุมะโน สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI)

  • การประกันสุขภาพแรงงานต่างด้าวและแนวทางการให้บริการด้านสุขภาพคนต่างด้าวสำหรับหน่วยบริการสาธารณสุข โดย นายวัลลก คชบก นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการพิเศษ กองเศรษฐกิจสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ
  • ระบบประกันสังคมและการจัดบริการสุขภาพของแรงงานต่างด้าว โดย นางสาวนิตยา บุญญะกิจวัฒนา นักวิชาการแรงงานชำนาญการพิเศษ ผู้อำนวยการกลุ่มงานคุ้มครองสิทธิทางการแพทย์ สำนักจัดระบบบริการทางการแพทย์ สำนักงานประกันสังคม
  • มาตรการการป้องกันควบคุมโรคในแรงงานต่างด้าว และแนวทางการดำเนินการเฝ้าระวัง ป้องกันและควบคุมโรคในชุมชนต่างด้าวหรือสถานประกอบการ โดย พญ. วาสินี ชลิศราพงศ์ กองโรคติดต่อทั่วไป กรมควบคุมโรค

กำหนดการ วันศุกร์ ที่ ๒๗ มกราคม ๒๕๖๖

  • การบรรยาย : การพัฒนาระบบข้อมูลแรงงานต่างด้าว คนต่างด้าว ผู้ติดตามและแนวทางการจัดการข้อมูลแรงงานต่างด้าวและผู้ติดตามเพื่อใช้ประโยชน์ โดย นายสุธน คุ้มเพชร สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดระนอง
  • แบ่งกลุ่มและฝึกปฏิบัติ จำนวน ๒ กลุ่ม หัวข้อหลักการกำหนดแนวทางการขับเคลื่อนการดำเนินงานเพื่อพัฒนาการดำเนินงาน ระดับจังหวัดและพื้นที่ต้นแบบ (ผู้แทนจากทั้ง ๒ กลุ่มนำเสนอในวันถัดไป)
    • กลุ่มที่ ๑ แนวทางการพัฒนาระบบการเงินการคลังด้านสุขภาพแรงงานต่างด้าว
    • กลุ่มที่ ๒ แนวทางการพัฒนาระบบบริการสุขภาพแรงงานต่างด้าว
  • การอภิปราย : แนวทางการดำเนินงนเพื่อสร้างการมีส่วนร่วมของคนต่างด้าวในการดูแลสุขภาพตนเอง/ชุมชน โดย นางวิราณี นาคสุข กองบริหารการสาธารณสุข และ
  • นายชูวงศ์ แสงคง ผู้ประสานงานด้านสุขภาพ เครือข่ายองค์กรด้านประชากรข้ามชาติ (MWG : Migrant Working Group)
Happy
0 0 %
Sad
0 0 %
Excited
0 0 %
Sleepy
0 0 %
Angry
0 0 %
Surprise
0 0 %

รายการบริการและอัตราจ่าย Fee schedule

0 0
Read Time:56 Second

สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ได้ประกาศเพิ่มเติมรายการยา รายการบริการและอัตราจ่าย Fee schedule ของระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ โดยจ่ายตามรายการที่กำหนด (Fee Schedule) ตามประกาศคณะกรรมการหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เรื่อง หลักเกณฑ์การดำเนินงานและการบริหารจัดการ กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ สำหรับผู้มีสิทธิหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๖ และหลักเกณฑ์ วิธีการ และเงื่อนไขการรับค่าใช้จ่ายเพื่อบริการสาธารณสุขของหน่วยบริการ พ.ศ. ๒๕๖๕ ประชุมชี้แจงรายการบริการและอัตราจ่ายแบบ Fee schedule ในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ วันที่ ๒๓ มกราคม ๒๕๖๖ เวลา ๐๙.๐๐-๑๒.๐๐ น. ผ่าน Facebook Live หน้าเพจ : สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

รายการยา รายการบริการและอัตราจ่ายแบบ Fee schedule ของระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ตามมติคณะอนุกรรมการกำหนดหลักเกณฑ์การดำเนินงาน และการบริหารจัดการกองทุน ครั้งที่ 8/2565 วันที่ 22 กันยายน 2565

Happy
0 0 %
Sad
0 0 %
Excited
0 0 %
Sleepy
0 0 %
Angry
0 0 %
Surprise
0 0 %

รายการตัวชี้วัด ปีงบประมาณ 2566

0 0
Read Time:8 Minute, 15 Second

กระทรวงสาธารณสุข ได้จัดทำแผนปฏิบัติราชการ ประจำปีงบประมาณ พ.ศ. 2566 ของกระทรวงสาธารณสุข โดยประกอบด้วย 4 ด้าน คือ

  1. ด้านส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันโรค และคุ้มครอง ผู้บริโภคเป็นเลิศ (Promotion Prevention and Protection: PP&P Excellence)
  2. ด้านบริการเป็นเลิศ (Service Excellence)
  3. ด้านบุคลากรเป็นเลิศ (People Excellence)
  4. ด้านบริหารเป็นเลิศด้วยธรรมาภิบาล (Governance Excellence)

ภายใต้กรอบ 14 แผนงาน 37 โครงการ และ 62 ตัวชี้วัด

ในการนี้ เพื่อให้สอดคล้องกับเป้าหมายของกระทรวงสาธารณสุข “ประชาชนสุขภาพดี เจ้าหน้าที่ มีความสุข และระบบสุขภาพยั่งยืน” กรม กอง และหน่วยงานที่เกี่ยวข้องทุกหน่วย จึงได้ร่วมกันจัดทำรายละเอียดตัวชี้วัดกระทรวงสาธารณสุข เพื่อการกำกับติดตามผลการดำเนินงาน และให้หน่วยงานที่เกี่ยวข้องใช้เป็นแนวทางในการดำเนินงานพร้อมทั้งจัดเก็บข้อมูลตามตัวชี้วัดดังกล่าว และเพื่อใช้ประโยชน์ร่วมกันต่อไป

รายการตัวชี้วัด ปีงบประมาณ 2566

  1. อัตราส่วนการตายมารดาไทยต่อการเกิดมีชีพแสนคน
  2. ร้อยละของเด็กปฐมวัยมีพัฒนาการสมวัย
  3. เด็กไทยมีระดับสติปัญญาเฉลี่ยไม่ต่ำกว่า 103 ตัวชี้วัด Prox :ร้อยละของเด็กปฐมวัยที่ได้รับการคัดกรองแล้วพบว่ามีพัฒนาการล่าช้าแล้วได้รับการกระตุ้นพัฒนาการด้วย TEDA4I หรือเครื่องมือมาตรฐานอื่น จนมีพัฒนาการสมวัย
  4. อัตราการคลอดมีชีพในหญิงอายุ 15-19 ปี ต่อจำนวนประชากรหญิงอายุ 15-19 ปี 1,000 คน
  5. ร้อยละของผู้สูงอายุและผู้ที่มีภาวะพึ่งพิงได้รับการดูแลตาม Care Plan
  6. ร้อยละของผู้สูงอายุมีแผนส่งเสริมสุขภาพดี (Wellness Plan)
  7. ร้อยละของผู้สูงอายุที่ผ่านการคัดกรอง พบว่าเสี่ยงต่อการเกิดภาวะสมองเสื่อมหรือภาวะหกล้มและได้รับการดูแลรักษาในคลินิกผู้สูงอายุ
  8. ร้อยละของโรงพยาบาลที่มีคลินิกผู้สูงอายุ
  9. อัตราความรอบรู้ด้านสุขภาพของประชาชน
  10. ร้อยละของอำเภอผ่านเกณฑ์การประเมินการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่มีคุณภาพ
  11. ระดับความสำเร็จของการพัฒนาระบบการแพทย์ฉุกเฉินและการจัดการภาวะฉุกเฉินด้านการแพทย์และสาธารณสุข (Emergency Care System and Public Health Emergency Management)
  12. ร้อยละการตรวจติดตามยืนยันวินิจฉัยกลุ่มสงสัยป่วยโรคเบาหวาน และ/หรือความดันโลหิตสูง
  13. ร้อยละของจังหวัดต้นแบบการดำเนินงานตาม พ.ร.บ.ควบคุมโรคจากการประกอบอาชีพและโรคจากสิ่งแวดล้อม พ.ศ. 2562
  14. ร้อยละผลิตภัณฑ์สุขภาพที่ได้รับการส่งเสริมและได้รับการอนุญาต
  15. ร้อยละสถานที่จำหน่ายอาหารผ่านเกณฑ์มาตรฐานตามกฎหมายกำหนด
  16. ร้อยละของโรงพยาบาลที่พัฒนาอนามัยสิ่งแวดล้อมได้ตามเกณฑ์ GREEN & CLEAN Hospital Challenge (ระดับมาตรฐานขึ้นไป)
  17. จำนวนการจัดตั้งหน่วยบริการปฐมภูมิและเครือข่ายหน่วยบริการปฐมภูมิ ตามพระราชบัญญัติระบบสุขภาพปฐมภูมิ พ.ศ. 2562
  18. จำนวนประชาชนคนไทย มีหมอประจำตัว 3 คน
  19. ร้อยละของชุมชนมีการดำเนินการจัดการสุขภาพที่เหมาะสมกับประชาชน
  20. อัตราตายของผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง และได้รับการรักษาใน Stroke Unit
  21. อัตราความสำเร็จการรักษาผู้ป่วยวัณโรคปอดรายใหม่
  22. ร้อยละของจังหวัดที่ผ่านตามเกณฑ์พัฒนาสู่จังหวัดใช้ยาอย่างสมเหตุผล (RDU province) ที่กำหนด
  23. อัตราการติดเชื้อดื้อยาในกระแสเลือด
  24. อัตราตายทารกแรกเกิดอายุน้อยกว่าหรือเท่ากับ 28 วัน
  25. ร้อยละการให้การดูแลตามแผนการดูแลล่วงหน้า (Advance Care Planning) ในผู้ป่วยประคับประคองอย่างมีคุณภาพ
  26. ร้อยละของจำนวนผู้ป่วยที่มีการวินิจฉัยโรคหลอดเลือดสมอง อัมพฤกษ์ อัมพาตระยะกลาง (Intermediate Care) ที่ได้รับการดูแลด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก (Community base)
  27. ร้อยละของประชาชนที่มารับบริการในระดับปฐมภูมิได้รับการรักษาด้วยการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
  28. ร้อยละของผู้ป่วยโรคซึมเศร้าเข้าถึงบริการสุขภาพจิต
  29. อัตราการฆ่าตัวตายสำเร็จ
  30. อัตราตายผู้ป่วยติดเชื้อในกระแสเลือดแบบรุนแรงชนิด community-acquired
  31. Refracture Rate
  32. อัตราตายของผู้ป่วยโรคกล้ามเนื้อหัวใจตายเฉียบพลันชนิด STEMI และการให้การรักษาตามมาตรฐานตามเวลาที่กำหนด
  33. ร้อยละของผู้ที่ได้รับการคัดกรองมะเร็ง
  34. ร้อยละผู้ป่วย CKD ที่มี eGFR ลดลงน้อยกว่า 5 ml/min/1.73m2/yr
  35. ร้อยละผู้ป่วยต้อกระจกชนิดบอด (Blinding Cataract) ได้รับการผ่าตัด ภายใน 30 วัน
  36. อัตราส่วนของจำนวนผู้บริจาคอวัยวะสมองตายที่ได้รับการผ่าตัดนำอวัยวะออก ต่อจำนวนผู้ป่วยเสียชีวิตในโรงพยาบาล (โรงพยาบาล A, S)
  37. ร้อยละของผู้ป่วยยาเสพติดเข้าสู่กระบวนการบำบัดรักษา ได้รับการดูแลอย่างมีคุณภาพต่อเนื่องจนถึงการติดตาม (Retention Rate)
  38. ร้อยละของ ผู้ป่วย Intermediate care * ได้รับการบริบาลฟื้นสภาพและติดตามจนครบ 6 เดือน หรือจน Barthel index = 20 ก่อนครบ 6 เดือน
  39. ร้อยละของผู้ป่วยที่เข้ารับการผ่าตัดแบบ One Day Surgery
  40. ร้อยละของการลงทะเบียนใน MIS registration ใน 1 เดือน โครงการ MIS ผ่านการผ่าตัดแผลเล็ก (Minimally Invasive Surgery : MIS)
  41. ระดับความสำเร็จของการจัดบริการคลินิกกัญชาทางการแพทย์
  42. อัตราการเสียชีวิตของผู้ป่วยวิกฤตฉุกเฉิน (Triage level 1) ภายใน 24 ชั่วโมง ในโรงพยาบาลระดับ A, S, M1 (ทั้งที่ ER และ Admit)
  43. ร้อยละของประชากรเข้าถึงบริการการแพทย์ฉุกเฉิน
  44. อัตราการเสียชีวิตในผู้ป่วยบาดเจ็บที่สมอง (traumatic brain injury mortality)
  45. ร้อยละผู้ป่วยในพระบรมราชานุเคราะห์ และพระราชานุเคราะห์ ได้รับการดูแลอย่างมีคุณภาพ
  46. อัตราการเพิ่มขึ้นของจำนวนสถานประกอบการด้านการท่องเที่ยวเชิงสุขภาพที่ได้รับมาตรฐานตามที่กำหนด
  47. ร้อยละของศูนย์เวลเนส (Wellness Center) / แหล่งท่องเที่ยวเชิงสุขภาพที่ได้รับการยกระดับแบบมีส่วนร่วม และสร้างสรรค์ด้านภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย การแพทย์ทางเลือก และสมุนไพรให้มีคุณค่าและมูลค่าสูงเพิ่มขึ้น
  48. ร้อยละของเขตสุขภาพที่มีการบริหารจัดการกำลังคนที่มีประสิทธิภาพ
  49. หน่วยงานที่เป็นองค์กรแห่งความสุขที่มีคุณภาพ (ระดับจังหวัด/เขตสุขภาพ/กรม)
  50. ร้อยละของหน่วยงานในสังกัดกระทรวงสาธารณสุขผ่านเกณฑ์การประเมิน ITA
  51. ร้อยละของส่วนราชการและหน่วยงานสังกัดกระทรวงสาธารณสุขผ่านเกณฑ์การตรวจสอบและประเมินผลระบบการควบคุมภายใน
  52. ร้อยละความสำเร็จของส่วนราชการในสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขที่ดำเนินการพัฒนาคุณภาพการบริหารจัดการภาครัฐ (PMQA) ผ่านการประเมินตามเกณฑ์ที่กำหนด
  53. ร้อยละของโรงพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุขมีคุณภาพมาตรฐานผ่านการรับรอง HA ขั้น 3
  54. สถานบริการสังกัดสำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุขที่ผ่านเกณฑ์การประเมินตามนโยบาย EMS (Environment, Modernization and Smart Service)
  55. ร้อยละของโรงพยาบาลที่มีการปรับโฉม Smart Hospital (Smart ER /Modernize OPD / มีการใช้พลังงานสะอาด)
  56. ร้อยละของสถานบริการที่มีการดำเนินงานสื่อสารเชิงรุก
  57. ร้อยละของจังหวัดที่ประชาชนไทย มี ดิจิทัลไอดี เพื่อการเข้าถึงระบบบริการสุขภาพแบบไร้รอยต่อ
  58. จังหวัดที่มีบริการการแพทย์ทางไกลตามเกณฑ์ที่กำหนด
  59. ความแตกต่างการใช้สิทธิ เมื่อไปใช้บริการผู้ป่วยในของผู้มีสิทธิในระบบหลักประกันสุขภาพถ้วนหน้า (compliance rate)
  60. ระดับความสำเร็จของการปรับปรุงสิทธิประโยชน์กลางการดูแลปฐมภูมิของระบบหลักประกันสุขภาพ 3 ระบบ
  61. ร้อยละของหน่วยบริการที่ประสบภาวะวิกฤตทางการเงิน
  62. จำนวนนวัตกรรมหรือเทคนโสยีสุขภาพที่คิดค้นใหม่หรือที่พัฒนาต่อยอด
Happy
1 50 %
Sad
0 0 %
Excited
0 0 %
Sleepy
1 50 %
Angry
0 0 %
Surprise
0 0 %

ระบบสารสนเทศด้านการเงินการคลังหน่วยบริการ ปี 2566

0 0
Read Time:31 Second

วัตถุประสงค์ระบบ

  1. เพื่อรวมระบบการส่งข้อมูลเข้ามาไว้ที่ระบบเดียว เช่น การส่งแผนแพลนฟิน การส่งผล การส่งข้อมูลบริการ
  2. เพื่อรวบรวมข้อมูลมาทำรายงานในรูปแบบ visualization  ตามแบบฟอร์มรายงานทางบัญชี
  3. หน่วยระดับ สสจ. และ เขต สามารถมอนิเตอร์ข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูลได้เองด้วยระบบ superset

เอกสารประกอบการประชุม

Happy
0 0 %
Sad
0 0 %
Excited
0 0 %
Sleepy
0 0 %
Angry
0 0 %
Surprise
0 0 %

ประชุมชี้แจงแนวทางขอรับค่าใช้จ่ายบริการสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2566 วันที่ 15พ.ย.65

0 0
Read Time:1 Minute, 30 Second

ประชุมชี้แจงหลักเกณฑ์ แนวทางปฏิบัติการขอรับค่าใช้จ่ายบริการสาธารณสุข ปีงบประมาณ 2566

วาระประชุม

  • เวลา 09.30 – 10.00 น. ประธานเปิดการประชุม และบรรยายภาพรวมแนวทางการบริหารจัดการกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2566 โดย ผู้บริหารสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติเขต 7 ขอนแก่น
  • เวลา 10.00 – 12.00 น. แนวทางการบริหารจัดการกองทุน และการขอรับค่าใช้จ่ายบริการสาธารณสุขงานบริการเฉพาะ
  • เวลา 13.00 – 14.30.00 น. งานตรวจสอบเวชระเบียนสำหรับชดเชยค่าบริการสาธารณสุขปี 2566 โดย กลุ่มภารกิจสนับสนุนและกำกับติดตามประเมินผล (M&E) กองทุนหลักประกันสุขภาพ
  • เวลา 14.30 – 16.00 น. แนวทางขอรับค่าใช้จ่ายบริการสาธารณสุขปี 2566 กรณี PP & FS และโครงการร้านยาคุณภาพ โดย กลุ่มภารกิจสนับสนุนการเข้าถึงบริการปฐมภูมิ การส่งเสริมสุขภาพป้องกันโรคและการจัดการหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่น
  • เวลา 16.00 – 16.30 น. ถาม – ตอบ อภิปรายและเสนอแนะ
  • เวลา 16.30 น. ปิดการประชุม

เอกสารประกอบการประชุม

วีดีโอการประชุม

Happy
0 0 %
Sad
0 0 %
Excited
0 0 %
Sleepy
0 0 %
Angry
0 0 %
Surprise
0 0 %

เอกสารประกอบการชี้แจงกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปี2566 โดยสปสช.เขต7 ขอนแก่น

0 0
Read Time:1 Minute, 6 Second

การชี้แจงการบริหารกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ปีงบประมาณ 2566 วันที่ 10 พฤศจิกายน 2565

เอกสารประกอบการประชุม

Happy
0 0 %
Sad
0 0 %
Excited
0 0 %
Sleepy
0 0 %
Angry
0 0 %
Surprise
0 0 %

เอกสารประกอบการประชุมสไลด์ชี้แจงการเบิกจ่ายกองทุนฯ ปี66

0 0
Read Time:16 Second

เอกสารประกอบการประชุม

Video ส่วนที่ 1

Video ส่วนที่ 2

Happy
0 0 %
Sad
0 0 %
Excited
0 0 %
Sleepy
0 0 %
Angry
0 0 %
Surprise
0 0 %

ประชุมชี้แจงplanfinและการจัดการงบกองทุนUCกรณี รพ.สต.ถ่ายโอน

0 0
Read Time:1 Minute, 27 Second

การประชุมชี้แจงแนวทางการจัดทำแผนทางการเงิน (Planfin)
และสนันสนุนการบริหารจัดการงบกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติให้กับ รพ.สต.
ที่ถ่ายโอนไปยัง อบจ.ของหน่วยบริการสังกัด สป. ปีงบประมาณ 2566

นายแพทย์พงศ์เกษม ไข่มุกด์ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข ให้เกียรติเป็นประธาน เปิดการประชุมชี้แจงแนวทางการจัดทำแผนทางการเงิน (Planfin) และสนันสนุนการบริหารจัดการงบกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติให้กับ รพ.สต. ที่ถ่ายโอนไปยัง อบจ.ของหน่วยบริการสังกัด สป. ปีงบประมาณ 2566 ผ่านทางระบบประชุมออนไลน์ Webex Meeting และ Facebook Live Fanpage ของ กศภ. ซึ่งจัดโดยกลุ่มงานพัฒนาระบบบัญชีบริหารและประสิทธิภาพการเงินหน่วยบริการ กองเศรษฐกิจสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ นำโดยนายแพทย์ดิเรก สุดแดน ผู้อำนวยการกองเศรษฐกิจสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ นางสาวปิยาภรณ์ ยิ้มศิริวัฒนะ นักวิชาการเงินและบัญชีชำนาญการพิเศษ หัวหน้ากลุ่มงานพัฒนาระบบบัญชีบริหารและประสิทธิภาพการเงินหน่วยบริการ พร้อมด้วยเจ้าหน้าที่กลุ่มงานฯ นางน้ำค้าง บวรกุลวัฒน์ นักวิชาการเงินและบัญชีเชี่ยวชาญ กองบริหารการคลัง สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข นายน้อง เจริญนาค ผู้อำนวยการสำนักงบประมาณ พร้อมเจ้าหน้าที่ฯ และนายแพทย์อภิชาติ รอดสม รองเลขาธิการสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ซึ่งมีผู้เข้าร่วมประชุมออนไลน์ ผ่านทางระบบWebex ประมาณ 800 User และ ผ่านทาง Facebook ประมาณ 500 User ในการประชุมดังกล่าว โดยมีเนื้อหาการประชุม เกี่ยวกับการทำแผนการเงินการคลังหน่วยบริการ สังกัดสป.ปีงบประมาณ 2566 และการบริหารจัดการงบกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติให้กับ รพ.สต. ที่ถ่ายโอนไปยัง อบจ.ของหน่วยบริการสังกัด สป. ปีงบประมาณ 2566

เข้ารับชมที่ลิงค์นี้

https://fb.watch/g7JgJW0lJH/

Happy
0 0 %
Sad
0 0 %
Excited
0 0 %
Sleepy
0 0 %
Angry
0 0 %
Surprise
0 0 %

4 วิธีเช็คสิทธิรักษาพยาบาล ทำได้ง่ายๆ ด้วยตนเอง

0 0
Read Time:17 Second
เช็คสิทธิรักษาพยาบาลด้วยตนเอง

เช็คสิทธิรักษาพยาบาลด้วยตนเอง

  1. โทร.สายด่วน สปสช. 1330 กด 2
  2. เว็บไซต์ สปสช. https://eservices.nhso.go.th/eServices/mobile/login.xhtml
  3. แอปพลิเคชั่น สปสช. เลือกเมนู ตรวจสอบสิทธิตนเอง
  4. ไลน์ สปสช. @nhso หรือ คลิก https://lin.ee/zzn3pU6 เลือกเมนู ตรวจสอบสิทธิ
Happy
5 56 %
Sad
1 11 %
Excited
0 0 %
Sleepy
0 0 %
Angry
1 11 %
Surprise
2 22 %

ผลการประกวด Brigth spot hospital ปี2565

0 0
Read Time:59 Second

วันที่ 21 กันยายน 2565 เวลา 13.30 – 14.00 น. ณ ห้องประชุมร้อยแก่นสารสินธุ์ ชั้น 5 สำนักงานเขตสุขภาพที่ 7 จังหวัดขอนแก่น นายแพทย์สวัสดิ์ อภิวัจนีวงศ์ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 7 เป็นประธานในการประชุมคณะกรรมการเขตสุขภาพที่ 7 ครั้งที่ 5/2565 และมอบเกียรติบัตรหน่วยบริการที่มีผลการพัฒนาประสิทธิภาพทางการเงินการคลังดีเด่น (BRIGHT SPOT HOSPITAL) เขตสุขภาพที่ 7 ประจำปีงบประมาณ 2565

ทั้งนี้โรงพยาบาลในจังหวัดขอนแก่น ได้รับรางวัลผลการพัฒนาประสิทธิภาพทางการเงินการคลัง สำหรับหน่วยบริการที่มีผลงานดีเด่น (BRIGHT SPOT HOSPITAL) เขตสุขภาพที่ 7 ประจำปีงบประมาณ 2565 ดังนี้

โรงพยาบาลสิรินธร จังหวัดขอนแก่น (ได้รับรางวัลรองชนะเลิศ ลำดับที่ 1)
โรงพยาบาลพล (ได้รับรางวัลชนะเลิศ) เงินที่ได้รับจัดสรร หนึ่งล้านบาท
โรงพยาบาลแวงน้อย (ได้รับรางวัลชนะเลิศ) เงินที่ได้รับจัดสรร หนึ่งล้านสองแสนห้าหมื่นบาท
โรงพยาบาลซำสูง (ได้รับรางวัลรองชนะเลิศ ลำดับที่ 2) เงินที่ได้รับจัดสรร แปดแสนเจ็ดหมื่นห้าพันบาท
โรงพยาบาลโคกโพธิ์ไชย (ได้รับรางวัลชนะเลิศ) เงินที่ได้รับจัดสรร หนึ่งล้านห้าแสนบาท
Happy
0 0 %
Sad
0 0 %
Excited
0 0 %
Sleepy
0 0 %
Angry
0 0 %
Surprise
0 0 %
Exit mobile version