- นายสมชายโชติ ปิยวัชร์เวลา นายแพทย์สาธารณสุขจังหวัดขอนแก่น ประธานกรรมการ
- นายอดุลย์ บำรุง นายแพทย์เชี่ยวชาญ (ด้านเวชกรรมป้องกัน) รองประธานกรรมการ
- นายไพรัชฌ์ สงคราม นายแพทย์เชี่ยวชาญ (ด้านเวชกรรมป้องกัน) รองประธานกรรมการ
- นายชาญชัย จันทร์วรชัยกุล ผู้อำนวยการโรงพยาบาลขอนแก่น กรรมการ
- นายวีระศักดิ์ อนุตรอังกูร ผู้อำนวยการโรงพยาบาลสิริธร จังหวัดขอนแก่น กรรมการ
- นางดวงพร อัศวราชันย์ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลชุมแพ กรรมการ
- นางกมลา วัฒนายิ่งเจริญชัย นักวิชาการสาธารณสุขเชี่ยวชาญ (ด้านส่งเสริมพัฒนา) กรรมการ
- นายมุนี เหมือนชาติ ทันตแพทย์เชี่ยวชาญ(ด้านทันตสาธารณสุข) กรรมการ
- นายเชิดชัย อริยานุชิตกุล เภสัชกรเชี่ยวชาญ(ด้านเภสัชสาธารณสุข) กรรมการ
- นายวิชัย อัศวภาคย์ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลน้ำพอง กรรมการ
- นายพิภพ สิริเพาประดิษฐ์ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลภูเวียง กรรมการ
- นายเกษม ภัทรฤทธิกุล ผู้อำนวยการโรงพยาบาลหนองสองห้อง กรรมการ
- นายวิโรจน์ เลิศพงศ์พิพัฒน์ ผู้อำนวยการโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชกระนวน กรรมการ
- นายประวีร์ คำศรีสุข ผู้อำนวยการโรงพยาบาลพล กรรมการ
- นายจักรพบ ป้อมนภา ผู้อำนวยการโรงพยาบาลเขาสวนกวาง กรรมการ
- นางสุมาลี วนาทรัพย์ดำรง ผู้อำนวยการโรงพยาบาลเปือยน้อย กรรมการ
- นายทิว อุดชาชน ผู้อำนวยการโรงพยาบาลโคกโพธิ์ไชย กรรมการ
- นายประจักษ์ จันทะราช สาธารณสุขอำเภอเมืองขอนแก่น กรรมการ
- นายวงษ์เสน่ห์ เครื่องฉาย สาธารณสุขอำเภอน้ำพอง กรรมการ
- นางพชรพร ครองยุทธ นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการพิเศษ กรรมการ
- นางวีรวรรณ รุจิจนากุล เภสัชกรชำนาญการพิเศษ กรรมการ
- นางสุจรรยา ทั่งทอง นักวิเคราะห์นโยบายและแผนชำนาญการพิเศษ กรรมการและเลขาฯ
- นางสุมาลี บุญญรัตน์ นักจัดการงานทั่วไปชำนาญการพิเศษ กรรมการและเลขาฯ ร่วม
- นางธัญญา อุพลเถียร นักวิชาการสาธารณสุขชำนาญการ กรรมการและผู้ช่วยเลขาฯ
- นางมลิวรรณ มะลิต้น เจ้าพนักงานการเงินและบัญชีชำนาญงาน กรรมการและผู้ช่วยเลขาฯ
บทบาทหน้าที่ ดังนี้
- กำหนดนโยบาย แนวทางการบริหารด้านการเงินการคลังในระดับจังหวัด ให้เกิดความเชื่อมโยงจากนโยบายระดับเขตสุขภาพไปสู่การดำเนินงาน การจัดบริการ และการใช้จ่ายงบประมาณของหน่วยบริการให้มีประสิทธิภาพ และเป็นธรรม
- ติดตาม และสนับสนุนการจัดทำแผนพัฒนาประสิทธิภาพการบริหารการเงินการคลังในระดับจังหวัด และหน่วยบริการที่มีปัญหาวิกฤติทางการเงินอย่างชัดเจน เป็นรูปธรรมและสามารถดำเนินการได้กำกับ ติดตาม ผลการดำเนินงานด้านการบริหารการเงินการคลังในระดับหน่วยบริการและระดับจังหวัด
- ประสิทธิภาพการบริหารการเงินการคลังสามารถควบคุมปัญหาการเงินระดับ 7 ไม่ให้เกินเกณฑ์ที่กำหนด
- การลดต้นทุนของยา เวชภัณฑ์ และเวชภัณฑ์ไม่ใช่ยา ตามนโยบายเขตสุขภาพ/กระทรวง
- หน่วยบริการมีต้นทุนต่อหน่วยไม่เกินเกณฑ์เฉลี่ยกลุ่มระดับบริการเดียวกัน
- การกำหนดมาตรการควบคุมค่าใช้จ่าย-เพิ่มรายได้หน่วยบริการ และติดตามควบคุมกำกับแผนทางการเงิน (Planfin management)
- ติดตามการตรวจประเมินระบบควบคุมภายใน การพัฒนาคุณภาพบัญชี/ตรวจสอบรายงานทางการเงิน ระบบบริหารโรงพยาบาล และเครือข่าย
- การพัฒนาศูนย์ต้นทุนและด้านฐานข้อมูลต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง เช่น ข้อมูลบริการ ข้อมูลทางบัญชี และข้อมูล Fixed Cost ของหน่วยบริการ
- การพัฒนาบุคลากรและสร้างโรงพยาบาลต้นแบบด้านการบริหารการเงินการคลัง
- สรุปผลการดำเนินงาน ปัญหาอุปสรรคและแนวทางการแก้ไขปัญหาด้านการบริหารการเงินการคลัง รวมทั้งความต้องการการสนับสนุนเพิ่ม เติมต่อคณะกรรมการวางแผนและประเมินผล (กวป.)
- หน้าที่อื่นๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย