ชี้แจงการคุ้มครองสิทธิในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ

0 0
Read Time:26 Second

เอกสารประกอบการประชุมชี้แจง การคุ้มครองสิทธิในระบบหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ วันที่ 12 ตุลาคม 2565

Happy
0 0 %
Sad
0 0 %
Excited
0 0 %
Sleepy
0 0 %
Angry
0 0 %
Surprise
0 0 %

ประชุมชี้แจงplanfinและการจัดการงบกองทุนUCกรณี รพ.สต.ถ่ายโอน

0 0
Read Time:1 Minute, 27 Second

การประชุมชี้แจงแนวทางการจัดทำแผนทางการเงิน (Planfin)
และสนันสนุนการบริหารจัดการงบกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติให้กับ รพ.สต.
ที่ถ่ายโอนไปยัง อบจ.ของหน่วยบริการสังกัด สป. ปีงบประมาณ 2566

นายแพทย์พงศ์เกษม ไข่มุกด์ รองปลัดกระทรวงสาธารณสุข ให้เกียรติเป็นประธาน เปิดการประชุมชี้แจงแนวทางการจัดทำแผนทางการเงิน (Planfin) และสนันสนุนการบริหารจัดการงบกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติให้กับ รพ.สต. ที่ถ่ายโอนไปยัง อบจ.ของหน่วยบริการสังกัด สป. ปีงบประมาณ 2566 ผ่านทางระบบประชุมออนไลน์ Webex Meeting และ Facebook Live Fanpage ของ กศภ. ซึ่งจัดโดยกลุ่มงานพัฒนาระบบบัญชีบริหารและประสิทธิภาพการเงินหน่วยบริการ กองเศรษฐกิจสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ นำโดยนายแพทย์ดิเรก สุดแดน ผู้อำนวยการกองเศรษฐกิจสุขภาพและหลักประกันสุขภาพ นางสาวปิยาภรณ์ ยิ้มศิริวัฒนะ นักวิชาการเงินและบัญชีชำนาญการพิเศษ หัวหน้ากลุ่มงานพัฒนาระบบบัญชีบริหารและประสิทธิภาพการเงินหน่วยบริการ พร้อมด้วยเจ้าหน้าที่กลุ่มงานฯ นางน้ำค้าง บวรกุลวัฒน์ นักวิชาการเงินและบัญชีเชี่ยวชาญ กองบริหารการคลัง สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข นายน้อง เจริญนาค ผู้อำนวยการสำนักงบประมาณ พร้อมเจ้าหน้าที่ฯ และนายแพทย์อภิชาติ รอดสม รองเลขาธิการสำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ ซึ่งมีผู้เข้าร่วมประชุมออนไลน์ ผ่านทางระบบWebex ประมาณ 800 User และ ผ่านทาง Facebook ประมาณ 500 User ในการประชุมดังกล่าว โดยมีเนื้อหาการประชุม เกี่ยวกับการทำแผนการเงินการคลังหน่วยบริการ สังกัดสป.ปีงบประมาณ 2566 และการบริหารจัดการงบกองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติให้กับ รพ.สต. ที่ถ่ายโอนไปยัง อบจ.ของหน่วยบริการสังกัด สป. ปีงบประมาณ 2566

เข้ารับชมที่ลิงค์นี้

https://fb.watch/g7JgJW0lJH/

Happy
0 0 %
Sad
0 0 %
Excited
0 0 %
Sleepy
0 0 %
Angry
0 0 %
Surprise
0 0 %

ปิดยอดประกันรายรับปี 65 และหลักการbasic payment ปี 66

0 0
Read Time:8 Second

ปิดยอดประกันรายรับปี 65 และหลักการbasic payment ปี 66

Happy
0 0 %
Sad
0 0 %
Excited
0 0 %
Sleepy
0 0 %
Angry
0 0 %
Surprise
0 0 %

4 วิธีเช็คสิทธิรักษาพยาบาล ทำได้ง่ายๆ ด้วยตนเอง

0 0
Read Time:17 Second
เช็คสิทธิรักษาพยาบาลด้วยตนเอง

เช็คสิทธิรักษาพยาบาลด้วยตนเอง

  1. โทร.สายด่วน สปสช. 1330 กด 2
  2. เว็บไซต์ สปสช. https://eservices.nhso.go.th/eServices/mobile/login.xhtml
  3. แอปพลิเคชั่น สปสช. เลือกเมนู ตรวจสอบสิทธิตนเอง
  4. ไลน์ สปสช. @nhso หรือ คลิก https://lin.ee/zzn3pU6 เลือกเมนู ตรวจสอบสิทธิ
Happy
5 56 %
Sad
1 11 %
Excited
0 0 %
Sleepy
0 0 %
Angry
1 11 %
Surprise
2 22 %

ย้ายหน่วยบริการ ‘เกิดสิทธิทันที’

0 0
Read Time:1 Minute, 10 Second

ประชาชนสิทธิบัตรทอง 30 บาท (หลักประกันสุขภาพแห่งชาติ)
ย้ายหน่วยบริการ ‘เกิดสิทธิทันที’

ย้ายหน่วยบริการ ‘เกิดสิทธิทันที’ ย้ายปุ๊บ ได้ปั๊บไม่ต้องรอ 15 วัน สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ (สปสช.) พร้อมนโยบาย “ย้ายหน่วยบริการ เกิดสิทธิทันที่”ซึ่งมีผลพร้อมกันทั่วประเทศแล้ว หากผู้ใช้สิทธิบัตรทองต้องการย้ายหน่วยบริการในอดีต จะต้องรอให้ถึงวันที่ 15 และ 28 ของเดือน จึงจะสามารถไปรับบริการที่หน่วยบริการแห่งใหม่ได้ ทว่าตั้งแต่วันที่ 1 ม.ค. 2564 เป็นต้นไป เมื่อยื่นเรื่องย้ายหน่วยบริการปุ๊บจะสามารถไปใช้สิทธิ ณ ที่ใหม่ได้ทันทีไม่ต้องเดินทางไปที่จุดรับลงทะเบียน โดยยื่นเรื่องผ่าน 2 ช่องทาง ดังนี้

  • Application สปสช. เพียงดาวน์โหลดแอป สปสช. ดาวน์โหลดฟรี! ไม่มีค่าใช้จ่าย ได้ทั้งระบบ Android และ iOS
  • Line Official Account สปสช.” add เป็นเพื่อน… เพียงสแกน QR Code หรือพิมพ์ค้นหาใช้ช่อง ID ว่า @nhso

ทั้งนี้ สอบถามเพิ่มเติมการใช้สิทธิบัตรทอง สายด่วน สปสช. 1330 หรือช่องทางระบบออนไลน์ทั้งไลน์ สปสช. @nhso หรือคลิก https://lin.ee/zzn3pU6 และ Facebook : สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ https://www.facebook.com/NHSO.Thailand

เช็คสิทธิการรักษา
Happy
0 0 %
Sad
0 0 %
Excited
0 0 %
Sleepy
0 0 %
Angry
0 0 %
Surprise
0 0 %

คู่มือชุดเครื่องมือในการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ

0 0
Read Time:1 Minute, 30 Second

คู่มือชุดเครื่องมือในการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อเล่มนี้ เป็นคู่มือที่บูรณาการงานสาธารณสุขที่เกี่ยวข้องกับการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อ เพื่อให้ผู้เข้ารับการอบรมหลักสูตรการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อสำหรับผู้นำท้องถิ่น นำไปใช้ประโยชน์ในการปฏิบัติงาน โดยการรวบรวมความรู้และระดมสมองจากผู้เชี่ยวชาญ คณะทำงานหลักสูตรและผู้ที่เกี่ยวข้องร่วมกันพัฒนาหลักสูตรและคู่มือชุดเครื่องมือการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อเพื่อให้ผู้นำท้องถิ่นเข้าใจสถานการณ์ปัญหาและการป้องกันควบคุมโรคไม่ติดต่อภาพรวมประเทศและพื้นที่ และริเริ่มออกแบบโครงการ / กิจกรรมส่งเสริมสุขภาพป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อในพื้นที่

หวังเป็นอย่างยิ่งว่า คู่มือชุดเครื่องมือฯ นี้ จะได้นำไปประยุกต์ใช้ในการดำเนินงานส่งเสริมสุขภาพ ป้องกันและควบคุมโรคไม่ติดต่อที่เป็นปัญหาสำคัญของพื้นที่อย่างมีส่วนร่วม เพื่อเป็นการยกระดับการให้บริการกับประชาชนได้อย่างเหมาะสม มีประสิทธิภาพและประสิทธิผล ต่อไป

  • ชุดเครื่องมือที่ 1 ชุดเครื่องมือในการวิเคราะห์สถานการณ์โรคไม่ติดต่อในชุมชน
  • ชุดเครื่องมือที่ 2 ชุดเครื่องมือการประเมินความเสี่ยงในชุมชน
  • ชุดเครื่องมือที่ 3 ชุดเครื่องมือในการประเมินและการดัดแปลงสูตรอาหารเพื่อสุขภาพ
  • ชุดเครื่องมือที่ 4 ชุดเครื่องมือการออกกำลังกายลดโรคไม่ติดต่อในชุมชน
  • ชุดเครื่องมือที่ 5 ชุดเครื่องมือการประเมินและเฝ้าระวังยาสูบในชุมชน
  • ชุดเครื่องมือที่ 6 ชุดเครื่องมือการประเมินการติดสุรารายบุคคล
  • ชุดเครื่องมือที่ 7 ชุดเครื่องมือแบบประเมินความเครียดด้วยตนเองและแบบคัดกรองโรคซึมเศร้า
  • ชุดเครื่องมือที่ 8 ชุดเครื่องมือการจัดทำแผนที่ทางเดินยุทธศาสตร์
  • ชุดเครื่องมือที่ 9 ชุดเครื่องมือการติดตามประเมินผลโครงการหรือกิจกรรมส่งเสริมสุขภาพ
Happy
0 0 %
Sad
0 0 %
Excited
0 0 %
Sleepy
0 0 %
Angry
0 0 %
Surprise
0 0 %

ผลการประกวด Brigth spot hospital ปี2565

0 0
Read Time:59 Second

วันที่ 21 กันยายน 2565 เวลา 13.30 – 14.00 น. ณ ห้องประชุมร้อยแก่นสารสินธุ์ ชั้น 5 สำนักงานเขตสุขภาพที่ 7 จังหวัดขอนแก่น นายแพทย์สวัสดิ์ อภิวัจนีวงศ์ ผู้ตรวจราชการกระทรวงสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 7 เป็นประธานในการประชุมคณะกรรมการเขตสุขภาพที่ 7 ครั้งที่ 5/2565 และมอบเกียรติบัตรหน่วยบริการที่มีผลการพัฒนาประสิทธิภาพทางการเงินการคลังดีเด่น (BRIGHT SPOT HOSPITAL) เขตสุขภาพที่ 7 ประจำปีงบประมาณ 2565

ทั้งนี้โรงพยาบาลในจังหวัดขอนแก่น ได้รับรางวัลผลการพัฒนาประสิทธิภาพทางการเงินการคลัง สำหรับหน่วยบริการที่มีผลงานดีเด่น (BRIGHT SPOT HOSPITAL) เขตสุขภาพที่ 7 ประจำปีงบประมาณ 2565 ดังนี้

โรงพยาบาลสิรินธร จังหวัดขอนแก่น (ได้รับรางวัลรองชนะเลิศ ลำดับที่ 1)
โรงพยาบาลพล (ได้รับรางวัลชนะเลิศ) เงินที่ได้รับจัดสรร หนึ่งล้านบาท
โรงพยาบาลแวงน้อย (ได้รับรางวัลชนะเลิศ) เงินที่ได้รับจัดสรร หนึ่งล้านสองแสนห้าหมื่นบาท
โรงพยาบาลซำสูง (ได้รับรางวัลรองชนะเลิศ ลำดับที่ 2) เงินที่ได้รับจัดสรร แปดแสนเจ็ดหมื่นห้าพันบาท
โรงพยาบาลโคกโพธิ์ไชย (ได้รับรางวัลชนะเลิศ) เงินที่ได้รับจัดสรร หนึ่งล้านห้าแสนบาท
Happy
0 0 %
Sad
0 0 %
Excited
0 0 %
Sleepy
0 0 %
Angry
0 0 %
Surprise
0 0 %

สปสช.เขต7 ประชุมชี้แจงสิทธิประโยชน์ผ้าอ้อมผู้ใหญ่ โดยใช้งบกองทุนตำบล ปี2566

0 0
Read Time:47 Second

ซักซ้อมแนวทางการดำเนินงานกองทุนหลักประกันสุขภาพในระดับท้องถิ่นหรือพื้นที่ กองทุนดูแลระยะยาวด้านสาธารณสุขสำหรับผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง และสิทธิประโยชน์ผ้าอ้อมผู้ใหญ่ ปีงบประมาณ 2566

ลิงค์ FB https://fb.watch/fGafxUx0VT/

เอกสารประกอบการประชุม

วิธีการขอรับ ‘ผ้าอ้อมผู้ใหญ่-แผ่นรองซับ’ สำหรับคนไทย ‘ทุกสิทธิการรักษาพยาบาล’ ที่มีภาวะติดเตียงหรือมีปัญหากลั้นขับถ่าย
คุณสมบัติของผู้มีสิทธิ
  • 1.เป็นผู้ป่วยติดเตียง คะแนนความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจำวัน (ADL) ไม่เกิน 6 คะแนน
  • 2.ผู้มีปัญหากลั้นปัสสาวะหรืออุจจาระไม่ได้ ตามการประเมินโดยเจ้าหน้าที่สาธารณสุขหรือแพทย์ออกใบรับรองแพทย์ให้
Happy
0 0 %
Sad
0 0 %
Excited
0 0 %
Sleepy
0 0 %
Angry
0 0 %
Surprise
0 0 %

ประชุมกองทุนต่างด้าว8-9ก.ย.65

0 0
Read Time:24 Second

เอกสารประกอบประชุมเชิงปฏิบัติการในการจัดทำแผนทางการเงินและการบริหารกองทุนต่างด้าวฯ ณ รร.รามากาเด้นส์ กทม. วันที่ 8-9 กันยายน 2565

Happy
0 0 %
Sad
0 0 %
Excited
0 0 %
Sleepy
0 0 %
Angry
0 0 %
Surprise
0 0 %

อัตราส่วนทางการเงินและสูตรคำนวณ

0 0
Read Time:7 Minute, 4 Second

รวมอัตราส่วนทางการเงิน ที่ใช้วัดการดำเนินกิจการ โดยแบ่งกลุ่มดัชนีอัตราส่วนทางการเงินเป็น 3 กลุ่ม คือ

  • อัตราส่วนที่วัดสภาพคล่องทางการเงิน
  • อัตราส่วนที่วัดประสิทธิภาพการดำเนินงาน
  • อัตราส่วนที่วัดประสิทธิภาพในการทำกำไร

รหัสและชื่ออัตราส่วนทางการเงิน 100-Current Ratio

  • หน่วยนับ เท่า
  • กลุ่มของอัตราส่วน 1.สภาพคล่อง
  • สูตรการคำนวณ X/Y
  • ค่า X มาจาก สินทรัพย์หมุนเวียน
  • ค่า Y มาจาก หนี้สินหมุนเวียน

รหัสและชื่ออัตราส่วนทางการเงิน 101Quick Ratio

  • หน่วยนับ เท่า
  • กลุ่มของอัตราส่วน 1.สภาพคล่อง
  • สูตรการคำนวณ X/Y
  • ค่า X มาจาก เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดและลูกหนี้
  • ค่า Y มาจาก หนี้สินหมุนเวียน

รหัสและชื่ออัตราส่วนทางการเงิน 102Cash Ratio

  • หน่วยนับ เท่า
  • กลุ่มของอัตราส่วน 1.สภาพคล่อง
  • สูตรการคำนวณ X/Y
  • ค่า X มาจาก เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด
  • ค่า Y มาจาก หนี้สินหมุนเวียน

รหัสและชื่ออัตราส่วนทางการเงิน 103-อัตราส่วนลูกหนี้ต่อสินทรัพย์หมุนเวียน

  • หน่วยนับ เท่า
  • กลุ่มของอัตราส่วน 1.สภาพคล่อง
  • สูตรการคำนวณ X/Y
  • ค่า X มาจาก ลูกหนี้รวม
  • ค่า Y มาจาก สินทรัพย์หมุนเวียน

รหัสและชื่ออัตราส่วนทางการเงิน 104Networking Capital

  • หน่วยนับ บาท
  • กลุ่มของอัตราส่วน 1.สภาพคล่อง
  • สูตรการคำนวณ X-Y
  • ค่า X มาจาก สินทรัพย์หมุนเวียน
  • ค่า Y มาจาก หนี้สินหมุนเวียน

รหัสและชื่ออัตราส่วนทางการเงิน 105เงินบำรุงคงเหลือ(หักหนี้แล้ว)

  • หน่วยนับ บาท
  • กลุ่มของอัตราส่วน 1.สภาพคล่อง
  • สูตรการคำนวณ X-Y
  • ค่า X มาจาก เงินบำรุงคงเหลือ+
  • ค่า Y มาจาก เงินบำรุงคงเหลือ-

รหัสและชื่ออัตราส่วนทางการเงิน 105.1เงินบำรุงคงเหลือ(หักหนี้แล้ว)ต่อหนี้สินหมุนเวียน

  • หน่วยนับ เท่า
  • กลุ่มของอัตราส่วน 1.สภาพคล่อง
  • สูตรการคำนวณ X/Y
  • ค่า X มาจาก เงินบำรุงคงเหลือ+
  • ค่า Y มาจาก หนี้สินหมุนเวียน

รหัสและชื่ออัตราส่วนทางการเงิน 260Average Payment Period (ยาและเวชภัณฑ์มิใช่ยา)

  • หน่วยนับ วัน
  • กลุ่มของอัตราส่วน 2.ประสิทธิภาพในการดำเนินงาน
  • สูตรการคำนวณ (X/Y)*จำนวนวันของเดือนนั้น
  • ค่า X มาจาก เจ้าหนี้การค้า(ยา วชช.)คงเหลือเฉลี่ย
  • ค่า Y มาจาก เจ้าหนี้การค้า(ยา วชช.)รวม

รหัสและชื่ออัตราส่วนทางการเงิน 261Average Collection Period-สิทธิ UC

  • หน่วยนับ วัน
  • กลุ่มของอัตราส่วน 2.ประสิทธิภาพในการดำเนินงาน
  • สูตรการคำนวณ (X/Y)*จำนวนวันของเดือนนั้น
  • ค่า X มาจาก ลูกหนี้ค่ารักษาสิทธิ UC เฉลี่ย
  • ค่า Y มาจาก รายได้ค่ารักษาพยาบาลสิทธิ UC สุทธิ

รหัสและชื่ออัตราส่วนทางการเงิน 262Average Collection Period- CSMBS

  • หน่วยนับ วัน
  • กลุ่มของอัตราส่วน 2.ประสิทธิภาพในการดำเนินงาน
  • สูตรการคำนวณ (X/Y)*จำนวนวันของเดือนนั้น
  • ค่า X มาจาก ลูกหนี้ค่ารักษาสิทธิ CS เฉลี่ย
  • ค่า Y มาจาก รายได้ค่ารักษาพยาบาล CS สุทธิ

รหัสและชื่ออัตราส่วนทางการเงิน 263Average Collection Period-SSS

  • หน่วยนับ วัน
  • กลุ่มของอัตราส่วน 2.ประสิทธิภาพในการดำเนินงาน
  • สูตรการคำนวณ (X/Y)*จำนวนวันของเดือนนั้น
  • ค่า X มาจาก ลูกหนี้ค่ารักษาสิทธิ SS (ในเครือข่าย) เฉลี่ย
  • ค่า Y มาจาก รายได้ค่ารักษาพยาบาลสิทธิ SS สุทธิ

รหัสและชื่ออัตราส่วนทางการเงิน 264Inventory Management

  • หน่วยนับ วัน
  • กลุ่มของอัตราส่วน 2.ประสิทธิภาพในการดำเนินงาน
  • สูตรการคำนวณ (X/Y)*จำนวนวันของเดือนนั้น
  • ค่า X มาจาก วัสดุคงคลังเฉลี่ย(ยา/เวชภัณฑ์มิใช่ยา)
  • ค่า Y มาจาก วัสดุใช้ไป (ยา/เวชภัณฑ์มิใช่ยา)

รหัสและชื่ออัตราส่วนทางการเงิน 302อัตรากำไรขั้นต้น(ไม่มีค่าเสื่อมฯ)

  • หน่วยนับ %
  • กลุ่มของอัตราส่วน 3.ประสิทธิภาพในการทำกำไร
  • สูตรการคำนวณ (X/Y)*100
  • ค่า X มาจาก กำไรขั้นต้น (ไม่รวมค่าเสื่อมฯ)
  • ค่า Y มาจาก รวมรายได้ค่ารักษาพยาบาล/รายได้งบประมาณส่วนบุคลากร/รายได้กองทุน

รหัสและชื่ออัตราส่วนทางการเงิน 303อัตรากำไรขั้นต้น(มีค่าเสื่อมฯ)

  • หน่วยนับ %
  • กลุ่มของอัตราส่วน 3.ประสิทธิภาพในการทำกำไร
  • สูตรการคำนวณ (X/Y)*100
  • ค่า X มาจาก กำไรขั้นต้น(มีค่าเสื่อมฯ)
  • ค่า Y มาจาก รวมรายได้ค่ารักษาพยาบาล/รายได้งบประมาณส่วนบุคลากร/รายได้กองทุน

รหัสและชื่ออัตราส่วนทางการเงิน 304อัตรากำไรจากการดำเนินงาน(ไม่มีค่าเสื่อมฯ)

  • หน่วยนับ %
  • กลุ่มของอัตราส่วน 3.ประสิทธิภาพในการทำกำไร
  • สูตรการคำนวณ (X/Y)*100
  • ค่า X มาจาก กำไรจากการดำเนินงาน(ไม่มีค่าเสื่อมฯ)
  • ค่า Y มาจาก รวมรายได้ค่ารักษาพยาบาล/รายได้งบประมาณส่วนบุคลากร/รายได้กองทุน

รหัสและชื่ออัตราส่วนทางการเงิน 305อัตรากำไรจากการดำเนินงาน(มีค่าเสื่อมฯ)

  • หน่วยนับ %
  • กลุ่มของอัตราส่วน 3.ประสิทธิภาพในการทำกำไร
  • สูตรการคำนวณ (X/Y)*100
  • ค่า X มาจาก กำไรจากการดำเนินงาน(มีค่าเสื่อมฯ)
  • ค่า Y มาจาก รวมรายได้ค่ารักษาพยาบาล/รายได้งบประมาณส่วนบุคลากร/รายได้กองทุน

รหัสและชื่ออัตราส่วนทางการเงิน 306อัตรากำไรสุทธิ(ไม่มีค่าเสื่อมฯ)

  • หน่วยนับ %
  • กลุ่มของอัตราส่วน 3.ประสิทธิภาพในการทำกำไร
  • สูตรการคำนวณ (X/Y)*100
  • ค่า X มาจาก กำไรสุทธิ(ไม่มีค่าเสื่อมฯ)
  • ค่า Y มาจาก รายได้รวม

รหัสและชื่ออัตราส่วนทางการเงิน 307อัตรากำไรสุทธิ(มีค่าเสื่อมฯ)

  • หน่วยนับ %
  • กลุ่มของอัตราส่วน 3.ประสิทธิภาพในการทำกำไร
  • สูตรการคำนวณ (X/Y)*100
  • ค่า X มาจาก กำไรสุทธิ(มีค่าเสื่อมฯ)
  • ค่า Y มาจาก รายได้รวม

รหัสและชื่ออัตราส่วนทางการเงิน 310ค่าใช้จ่ายรวมต่อรายได้จากการบริการ %

  • หน่วยนับ %
  • กลุ่มของอัตราส่วน 3.ประสิทธิภาพในการทำกำไร
  • สูตรการคำนวณ (X/Y)*100
  • ค่า X มาจาก ค่าใช้จ่ายรวม
  • ค่า Y มาจาก รวมรายได้ค่ารักษาพยาบาล

รหัสและชื่ออัตราส่วนทางการเงิน 311ต้นทุนค่ารักษาพยาบาลต่อค่าใช้จ่ายรวม %

  • หน่วยนับ %
  • กลุ่มของอัตราส่วน 3.ประสิทธิภาพในการทำกำไร
  • สูตรการคำนวณ (X/Y)*100
  • ค่า X มาจาก ต้นทุนค่ารักษาพยาบาล
  • ค่า Y มาจาก ค่าใช้จ่ายรวม

รหัสและชื่ออัตราส่วนทางการเงิน 312ค่าใช้จ่ายดำเนินการต่อค่าใช้จ่ายรวม %

  • หน่วยนับ %
  • กลุ่มของอัตราส่วน 3.ประสิทธิภาพในการทำกำไร
  • สูตรการคำนวณ (X/Y)*100
  • ค่า X มาจาก ค่าใช้จ่ายดำเนินการ
  • ค่า Y มาจาก ค่าใช้จ่ายรวม

รหัสและชื่ออัตราส่วนทางการเงิน 313ค่าใช้จ่ายบุคลากรต่อค่าใช้จ่ายรวม %

  • หน่วยนับ %
  • กลุ่มของอัตราส่วน 3.ประสิทธิภาพในการทำกำไร
  • สูตรการคำนวณ (X/Y)*100
  • ค่า X มาจาก ค่าใช้จ่ายบุคลากรรวม
  • ค่า Y มาจาก ค่าใช้จ่ายรวม

รหัสและชื่ออัตราส่วนทางการเงิน 314กำไรสุทธิ(ไม่มีค่าเสื่อมฯ)ต่อสินทรัพย์รวม %

  • หน่วยนับ %
  • กลุ่มของอัตราส่วน 3.ประสิทธิภาพในการทำกำไร
  • สูตรการคำนวณ (X/Y)*100
  • ค่า X มาจาก กำไรสุทธิ(ไม่มีค่าเสื่อมฯ)
  • ค่า Y มาจาก สินทรัพย์รวม

รหัสและชื่ออัตราส่วนทางการเงิน 315กำไรสุทธิ(มีค่าเสื่อมฯ)ต่อสินทรัพย์รวม %

  • หน่วยนับ %
  • กลุ่มของอัตราส่วน 3.ประสิทธิภาพในการทำกำไร
  • สูตรการคำนวณ (X/Y)*100
  • ค่า X มาจาก กำไรสุทธิ(มีค่าเสื่อมฯ)
  • ค่า Y มาจาก สินทรัพย์รวม

รหัสและชื่ออัตราส่วนทางการเงิน 316I/E Ratio

  • หน่วยนับ เท่า
  • กลุ่มของอัตราส่วน 3.ประสิทธิภาพในการทำกำไร
  • สูตรการคำนวณ X/Y
  • ค่า X มาจาก รายได้รวม
  • ค่า Y มาจาก ค่าใช้จ่ายรวม

รหัสและชื่ออัตราส่วนทางการเงิน 320Operating Margin %

  • หน่วยนับ %
  • กลุ่มของอัตราส่วน 3.ประสิทธิภาพในการทำกำไร
  • สูตรการคำนวณ (X/Y)*100
  • ค่า X มาจาก EBITDA
  • ค่า Y มาจาก รวมรายได้ค่ารักษาพยาบาล

รหัสและชื่ออัตราส่วนทางการเงิน 321Return on Asset %

  • หน่วยนับ %
  • กลุ่มของอัตราส่วน 3.ประสิทธิภาพในการทำกำไร
  • สูตรการคำนวณ (X/Y)*100
  • ค่า X มาจาก รายได้สูง(ต่ำ)กว่าค่าใช้จ่ายสุทธิ
  • ค่า Y มาจาก สินทรัพย์รวม

รหัสและชื่ออัตราส่วนทางการเงิน 333EBITDA

  • หน่วยนับ บาท
  • กลุ่มของอัตราส่วน 1.สภาพคล่อง
  • สูตรการคำนวณ X-Y
  • ค่า X มาจาก รายได้(ไม่รวมงบลงทุน)
  • ค่า Y มาจาก ค่าใช้จ่าย(ไม่รวมค่าเสื่อมฯ)

รหัสและชื่ออัตราส่วนทางการเงิน 334NI+Depreciation

  • หน่วยนับ บาท
  • กลุ่มของอัตราส่วน 1.สภาพคล่อง
  • สูตรการคำนวณ X-Y
  • ค่า X มาจาก รายได้รวม
  • ค่า Y มาจาก ค่าใช้จ่ายรวม
Happy
0 0 %
Sad
0 0 %
Excited
0 0 %
Sleepy
0 0 %
Angry
0 0 %
Surprise
0 0 %
Exit mobile version